วัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณีและความเชื่อในภาคใต้

จากการที่ได้เรียนรู้ในรายวิชาดังกล่าวนี้ จึงขอแนะนำความรู้ในบางส่วนที่คิดว่าจะมีประโยชน์กับผู้ที่กำลังศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ของเราว่ามีความเป็นมาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเรื่องใดบ้างก่อนจะมีวัฒนธรรมให้เราได้ยึดถือปฏิบัติกันมาจนถึงวันนี้ คำว่า “วัฒนธรรมท้องถิ่น” กล่าวคือ วัฒนธรรมท้องถิ่นในที่นี้ก็จะเชื่อมโยงไปให้เห็นคำว่าวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ ฉะนั้นคำว่าวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้แน่นอนจะบอกเฉพาะเจาะจงไปที่ความเป็นท้องถิ่นภาคใต้ ฉะนั้นพอเป็นความท้องถิ่นภาคใต้ ก็จำเป็นจะต้องทำความเข้าใจ ความมีลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้ในอีกรูปแบบหนึ่ง พอเฉพาะเจาะจงไปเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้เราก็ต้องมีพื้นฐานให้เข้าใจไปโดยอัตโนมัติว่าประเทศไทยถูกแบ่งภูมิภาคออกเป็นอย่างน้อย 5 ภูมิภาค ซึ่งขนาดภาคใต้เองก็เป็นภาคใต้ตอนล่าง-ภาคใต้ตอนบน ภาคกลางเองก็มีภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันตก ที่แบ่งให้เห็นความเหลื่อมหรือความต่างของวัฒนธรรม ทั้งนี้วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้มี

Read more

เทคนิคการถ่ายภาพแบบสื่อสาธารณะ

ซึ่งจากการที่ได้เรียนรู้ในรายวิชาดังกล่าวนี้ จึงขอแนะนำความรู้ในบางส่วนที่คิดว่าจะมีประโยชน์กับผู้ที่กำลังเริ่มต้นการถ่ายภาพเพื่อนำไปใช้เผยแพร่ในช่องทางต่าง ๆ  และ เพื่อให้ได้ภาพถ่ายที่มีความสวยงามสื่อความหมายถูกต้องตามหลักของสื่อสาธารณะ อันดับแรกเรามาเรียนรู้และทำความรู้จักกับการตั้งค่าพื้นฐานของกล้องเพื่อให้ได้ถ่ายภาพที่สวยงามมากขึ้น อันได้แก่ 1. การปรับค่าควบคุมแสง 3 ค่า คือ ค่า F-stop, ISO และสปีดชัตเตอร์ 2. การบันทึกภาพต่อวินาที หรือ Framerate

Read more

เทคนิคการนำเสนอผลงานวิชาการ

ซึ่งจากการเรียนรู้ในรายวิชาดังกล่าวนี้ จึงขอแนะนำความรู้ในบางส่วนที่คิดว่าจะมีประโยชน์กับผู้ที่กำลังจะก้าวเข้าสู่การนำเสนอผลงานวิชาการ จึงเป็นสิ่งที่สาคัญที่นักวิจัยและนักวิชาการทุกคนควรต้องทำ เมื่อเสร็จสิ้นการวิจัย และจัดทำรายงานวิจัยเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักวิจัยและนักวิชาการควรถือว่าเป็นหน้าที่ ซึ่งอาจนำเสนอผลงานวิจัยได้หลายแบบ สามารถเลือกวิธีการนำเสนอใด้หลายวิธี คือ การพูดทางวิชาการ การนำเสนอด้วยโปสเตอร์ หรือด้วยการตีพิมพ์ เป็นต้น การฝึกซ้อมกันนำเสนอ  เนื่องจากการนำเสนอการวิจัยจะเป็นเรื่องใหม่เสมอ ผู้วิจัยจึงต้องฝึกซ้อมก่อนนำเสนอทุกครั้งเพื่อให้การนำเสนอเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  ซึ่งการนำเสนอผลงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องดำเนินการดังนี้คือ การเตรียมการนำเสนอ และการนำเสนอ การประเมินเพื่อพัฒนาการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ

Read more

การเรียนรู้ที่มีคุณค่า : Open Educational Resources (OER) คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด

• การเรียนรู้ที่มีคุณค่า ก็คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินไป แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี จึงเป็นแนวคิดของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสำคัญอยู่ที่การแบ่งปันแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลกเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้อย่างเสรี • แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด หรือ OER : Open Educational Resources เป็นนวัตกรรมหนึ่งในวงการศึกษาที่ก่อกำหนดขึ้นมาภายใต้แนวคิดดังกล่าว

Read more

เขียนคอนเทนต์แบบไหน? ให้โดนใจในยุคดิจิทัล

  ในปัจจุบันมีการพูดถึงคอนเทนต์ หรือ Content กันมากขึ้น โดยเฉพาะในโซเชียลมีเดีย หรือสื่อออนไลน์ทุกประเภท และยังเป็นเทรนด์ในตอนนี้ว่าถ้าอยากทำการตลาด อยากเพิ่มยอดขาย อยากสร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จัก ต้องรีบทำคอนเทนต์ ซึ่งทุกวันนี้ใคร ๆ ก็สามารถสร้างคอนเทนต์ได้ หากคุณเป็นมือใหม่ที่อยากจะเรียนรู้การทำคอนเทนต์ อยากรู้ว่าคอนเทนต์คืออะไร? คอนเทนต์มีแบบไหนบ้าง? มีประโยชน์อย่างไร? และจะเขียนคอนเทนต์อย่างไรให้โดนใจ ในบทความนี้ได้อธิบายเกี่ยวกับคอนเทนต์

Read more

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย | Thai for Contemporary Communication

การเข้าใจและพัฒนาทักษะทางภาษาไทยทั้งการรับสารและส่งสาร โดยในด้านการรับสารสามารถพัฒนาทักษะการจับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่านและที่ฟัง การวิเคราะห์เชื่อมโยงประเด็นย่อย ๆ จากเรื่องที่ฟังและอ่านจนเข้าใจและสามารถยกระดับเป็นความรู้ใหม่ การเสนอข้อคิดเห็นหรือให้คุณค่าต่อเรื่องที่อ่านและฟังได้อย่างมีเหตุผลและสอดคล้องกับคุณค่าทางสังคม ในด้านการส่งสารสามารถพัฒนาทักษะการนำเสนอความคิดผ่านการพูดและการเขียนได้อย่างมีประเด็นสำคัญและส่วนขยายที่ช่วยให้ประเด็นความคิดชัดเจนและเป็นระบบ การนำข้อมูลทางสังคมมาประกอบสร้างเป็นความรู้หรือความคิดที่ใหญ่ขึ้น การพูดและการเขียนเพื่อนำเสนอความรู้ทางวิชาการที่เป็นระบบและน่าเชื่อถือ บทที่ 1 ทำความรู้จักกับภาษาและการสื่อสาร ในความเปลี่ยนแปลง อันเป็นอนิจจัง และเป็นพลวัต “การสื่อสารเพื่อความเข้าใจร่วมกัน” ดูจะเป็นกุญแจดอกสำคัญในการดำรงอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข สมานฉันท์ บนหลักการแห่ง..ความเคารพ ความแตกต่าง

Read more

รู้รอบด้านการนำเสนอ

ความสำคัญของการนำเสนอ การนำเสนอมีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานทุกประเภทเลย เพราะช่วยในการตัดสินใจในการดำเนินงานใช้ในการพัฒนางาน ตลอดจน เผยแพร่ความก้าวหน้าของงาน ต่อผู้บังคับบัญชาและบุคคลผู้ที่สนใจเรามาดูลักษณะสำคัญของการนำเสนอกัน การเสนอเป็นเรื่องของการติดต่อสื่อสารค่ะเกี่ยวข้องกับงานที่ทั้ง 2 ฝ่ายเกี่ยวข้องมีเป้าหมายให้ผู้รับฟังการนำเสนอเห็นด้วย สนับสนุนและเพื่อผลสำเร็จของผู้นำเสนอ พึงระลึกไว้ว่าผู้รับฟัง คือ คนสำคัญ ดังนั้น การนำเสนอจึงควรคำนึงถึงผู้รับสารเป็นสำคัญในส่วนของลักษณะการนำเสนอที่ดีมี 4 ประการดังนี้            1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน            2.

Read more

การสร้างแผนภูมิด้วย Microsoft Excel

ซึ่งจากการเรียนรู้ในรายวิชาไมโครซอฟท์ เอ็กซ์เซลล์ Microsoft Excel (โปรแกรมการคำนวณ) จึงขอแนะนำความรู้ในบางส่วนของหัวข้อ Manage Tables and Table Data = จัดการตารางและข้อมูลตารางการทำข้อมูล ในเรื่องของการ Create Charts มาเป็นตัวอย่างที่จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่ต้องการจะสร้างแผนภูมิ เพื่อดูผลลัพธ์ของข้อมูลแบบง่ายๆ ไม่ยุ่งยากแม้คุณจะไม่เก่งเรื่อง Microsoft

Read more

ทุ่นกักขยะลอยน้ำลดปัญหาขยะในทะเลได้อย่างไร

“ทุ่นกักเก็บขยะลอยน้ำ ช่วยกักเก็บขยะลอยน้ำในทะเล โดยขยะจะไม่หลุดลอยออกนอกทุ่นตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ รองรับขยะได้สูงสุดถึง 700 กิโลกรัม” การลดปริมาณขยะก่อนออกสู่ท้องทะเล ในปัจจุบัน ทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับปริมาณขยะที่มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และ ขยะเหล่านั้นก็ยังไหลลงทะเลอย่างต่อเนื่อง  หลาย ๆ หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้หันมาให้ความสนใจในการสร้างทุ่นกักขยะ  ได้แก่ “ต้นแบบทุ่นกักขยะลอยน้ำ” (SCG –

Read more

WULibrary Challenge การจัดการขยะด้วยหลัก 8R

การจัดการขยะที่ถูกวิธีดีต่อเราและดีต่อโลก คิดก่อนซื้อ ซื้อให้น้อย ใช้อย่างพอดี ปฏิเสธสิ่งไม่จำเป็น 8R เป็นวิธีการที่จะช่วย ให้โลกของเราน่าอยู่ น่าอาศัย และ ช่วยลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก  หากเราสามารถนำหลัก 8R มาใช้ในการจัดการขยะในชีวิตโดยการลดการบริโภคตั้งแต่ต้นทาง การใช้ข้าวของเครื่องใช้ให้คุ้มค่ามากที่สุด ไม่บริโภคเกินจำเป็น ลองมาทำความรู้จักกับหลักการจัดการขยะซึ่งประกอบด้วย  Rethink, Refuse, Reuse,

Read more

ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creative Thinking and Innovations)  

ความคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking )  เป็นกุญแจสำคัญสู่การพัฒนาอันยั่งยืน เคล็ดลับในการมีความคิดสร้างสรรค์  คือ  อย่าหยุดคิด แต่อาจพักได้บ้าง ความคิดสร้างสรรค์ มาจากไหน? จากพรสรรค์  อัจฉริยะ มาตั้งแต่เกิด จากพรแสวง   การฝึกคิดอย่างสร้างสรรค์บ่อย ๆ  ฝึกอ่าน ฝึกเขียน

Read more

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย  (Thai for Contemporary Communication)  

การสื่อสารเพื่อความเข้าใจร่วมกัน” เป็นกุญแจดอกสำคัญ ในการดำรงอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข บนหลักของ ความเคารพ ความแตกต่าง ความหลากหลาย ด้วยจุดยืนที่สร้างสรรค์ “๊WU014 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย” องค์ประกอบของการสื่อสารร่วมสมัย ผู้ส่งสาร (Transmitter, Source, Sender, Originator) คือ แหล่งกำเนิดของสารที่เกี่ยวกับความคิด เหตุการณ์ต่าง ๆ

Read more

การสร้างมุมมองและทัศนะใหม่ ๆ (Adopting different perspectives)  

ขั้นแรกในการเปิดมุมมองและทัศนะใหม่ ๆ คือต้องละวางการตัดสินใจที่อยู่ในใจของเราก่อนและต้องมีความเข้าอกเข้าใจผู้อื่น “Empathy” การสร้างมุมมองและทัศนะใหม่ ๆ เริ่มต้นด้วยการสำรวจมุมมองในมุมของตนเองในแต่ละพฤติกรรมก่อน แล้วจึงนำความเข้าใจตัวเองนั้น ไปประยุกต์ใช้กับการสื่อสารในการการทำงานและชีวิตประจำวัน ซึ่งสิ่งที่จำเป็นมากที่สุดคือการสร้างความเข้าอกเข้าใจ “Empathy” ด้วยการละวางคำตัดสินในใจ ถ้าเราเอามุมมอง ความรู้สึกของเราไปวัดคนอื่น ว่ามันใช่ หรือ ไม่ใช่ ไปเปรียบเทียบกับคนอื่น เมื่อเกิดสิ่งเหล่านี้ในใจเรา ก็จะทำให้เกิดความคิดตัดสินใจคนอื่นทันที 

Read more

เส้นทางสู่การเป็นอินฟลูเอนเซอร์  (Influencer)

การเป็นอินฟลูเอนเซอร์ (Influencer) ต้องมีความอดทนและความพยายามอย่างมาก เพราะคนยังไม่รู้จักเราและเรายังเป็นมือใหม่คอนเทนต์ที่ทำออกมาอาจยังมีข้อบกพร่องอยู่หรือไม่โดนใจผู้ติดตาม เราต้องทุ่มเทและปรับปรุงพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา สักวันเราก็จะประสบความสำเร็จเป็น “อินฟลูเอนเซอร์” ที่มากด้วยประสบการณ์และมีผู้ติดตามจำนวนมากในที่สุด การเป็นอินฟลูเอนเซอร์ (Influencer) ที่ดีต้องคุณสมบัติอย่างไรบ้าง 1. มีสไตล์ของตัวเอง           การเป็นอินฟลูเอนเซอร์ สิ่งที่จำเป็นประการแรกคือ ต้องเป็นคนที่มีสไตล์ของตัวเอง เพราะคนส่วนใหญ่ที่ติดตามเรามักจะติดตามจากตัวตนของเราเป็นสำคัญ เช่น เป็นคนเฮฮา สนุกสนาน

Read more

การฟังอย่างเข้าอกเข้าใจและใส่ใจ

“การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening) เป็นทักษะที่สำคัญมาก ในการสื่อสาร การทำงาน การใช้ชีวิต ให้มีประสิทธิภาพ หากเราเรียนรู้ ที่จะฟัง  เราก็จะได้ความรู้” การฟังอย่างใส่ใจ รายวิชานี้มุ่งเน้นให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการฟังอย่างใสใจ ที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน รวมไปถึงทำให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการฟังอย่างใส่ใจ รวมไปถึงการเรียนรู้ผ่านการดูตัวอย่างของการฟังอย่างใส่ใจ เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการฟังอย่างใส่ใจ เพื่อที่จะนำความรู้เหล่านี้ไปใช้ในการทำงานและการดำเนินชีวิต                การฟังอย่างใส่ใจ

Read more

Google Scholar เพื่อการค้นหาข้อมูลสนับสนุนเชิงวิชาการ

การใช้งาน Google scholar เพื่อการค้นคว้าหาความรู้ทางวิชาการรับประกันเลยว่าเครื่องมือตัวนี้มีประโยชน์แน่นอน เพราะว่าเวลาเราต้องการหาบทความวิชาการ หรือความรู้ใหม่ ๆ ที่มีอยู่ในโลกของอินเทอร์เน็ตเครื่องมือตัวนี้จะเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์มาก ๆ ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรมตัวนี้ ก่อนอื่นเลยเราต้องเปิดเข้ามาที่ scholar.google.co.th หรืออาจจะเป็น.com ก็ได้ เมื่อเปิดเข้ามาแล้วถ้าเรา Login เข้าด้วยชื่อของ Gmail อยู่แล้วก็สามารถเข้าได้เลย แต่ถ้าใครไม่เคยสมัครบางทีอาจจะต้องกดลงชื่อเข้าสู่ระบบอีกครั้งหนึ่งตัวอย่างเช่น

Read more