รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2566

ส่วนที่ 1

ผลการดำเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนของอธิการบดี/คำรับรองการปฎิบัติงานตามภารกิจหลัก (Function base) ของหน่วยงาน

ส่วนที่ 2

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน (นอกเหนือจากส่วนที่ 1)

ส่วนที่ 3

ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ การประเมินหน่วยงานประจำปี
(รายงานผลทุกหน่วยงาน)

ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
  1. จำนวนหนังสือต่อนักศึกษา (ตัวชี้วัดที่ 1)

ผลงาน 2564

เล่ม/คน
0

ผลงาน 2565

เล่ม/คน
0

เป้าหมาย 2566

เล่ม/คน
0

ผลงาน 2566

เล่ม/คน
0

2. ปริมาณการยืมทรัพยากรสารสนเทศต่อจำนวนผู้ใช้บริการที่มีสิทธิ์ยืม (ตัวชี้วัดที่ 2)

ผลงาน 2564

(9.25/คน, 66%)
0

ผลงาน 2565

(6.3 เล่ม/คน)
0

เป้าหมาย 2566

เล่ม/คน
0

ผลงาน 2566

(6.3 เล่ม/คน)
0

3. จำนวนฐานข้อมูลออนไลน์ (ตัวชี้วัดที่ 3)

ผลงาน 2564

ฐานข้อมูล
0

ผลงาน 2565

ฐานข้อมูล
0

เป้าหมาย 2566

ฐานข้อมูล
0

ผลงาน 2566

ฐานข้อมูล (>100%)
0

4. เวลาเฉลี่ยในการดำเนินงาน (ตัวชี้วัดที่ 4)

ผลงาน 2564

วัน
0

ผลงาน 2565

วัน
0

เป้าหมาย 2566

น้อยกว่า 3 วัน
0

ผลงาน 2566

วัน (100%)
0

5. ร้อยละของทรัพยากรสารสนเทและสื่อการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอนตามที่ระบุไว้ใน มคอ.3 (ตัวชี้วัดที่ 5)

ผลงาน 2564

ร้อยละ
0

ผลงาน 2565

ร้อยละ
0

เป้าหมาย 2566

ร้อยละ
0

ผลงาน 2566

ร้อยละ (115%)
0

6. พัฒนาดิจิทัลคอนเท็นต์เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพิ่มขึ้น (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10)

ผลงาน 2564

รายการ
0

ผลงาน 2565

รายการ
0

เป้าหมาย 2566

รายการ
0

ผลงาน 2566

รายการ (>100%)
0

ปัญหา/อุปสรรค

  1. จำนวนผู้ใช้เพิ่มขึ้น/งบประมาณจัดหาคงเดิม
  2. ห้องสมุดต้องจัดหาทร้พยากรให้มีความหลากหลาย/น่าสนใจ

แนวทางแก้ไขปัญหา

  1. จัดหาทรัพยากรที่ให้บริการฟรี/Open
  2. พัฒนาความร่วมมือด้านการจัดหาเพิ่มขึ้น
  3. ร่วมมือกับคณาจารย์ผลิต e-Book สำหรับรายวิชา
ฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้และให้บริการ
  1. จำนวนผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด (ตัวชี้วัดที่ 6)

ผลงาน 2564

ครั้ง / เดือน
0

ผลงาน 2565

ครั้ง / เดือน
0

เป้าหมาย 2566

ครั้ง / เดือน
0

ผลงาน 2566

ครั้ง / เดือน
0

2. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สารสนเทศและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ตัวชี้วัดที่ 7)

ผลงาน 2564

ร้อยละ
0

ผลงาน 2565

ร้อยละ
0

เป้าหมาย 2566

มากกว่าร้อยละ 90
0

ผลงาน 2566

ร้อยละ (จำนวน 18 กิจกรรม)
0

3. ค่าใช้จ่ายต่อครั้งในการเข้าใช้บริการของห้องสมุด (รายปี) งบทรัพยากรทั้งหมด/จำนวนการเข้าใช้ (ตัวชี้วัดที่ 8)

ผลงาน 2564

บาท / ครั้ง
0

ผลงาน 2565

บาท / ครั้ง
0

เป้าหมาย 2566

บาท / ครั้ง
0

ผลงาน 2566

บาท / ครั้ง
0

4. ร้อยละของการใช้ฐานข้อมูลที่เพิ่มขึ้น (รายปี) (ตัวชี้วัดที่ 9)

ผลงาน 2564

ครั้ง / ปี
0

ผลงาน 2565

ครั้ง / ปี
0

เป้าหมาย 2566

ครั้ง / ปี
0

ผลงาน 2566

ครั้ง / ปี (เพิ่มขึ้น 19.4%)
0

สถิติการเข้าใช้ Walk in 

91,765 ครั้ง

สถิติการยืม

75,726 เล่ม

การสืบค้นออนไลน์ OPAC

361,069 ครั้ง

ฐานข้อมูลออนไลน์ 

545,402 ครั้ง

เป็นการสืบค้า Scopus 220,114 ครั้ง

ปัญหา/อุปสรรค

  1. จำนวนผู้ใช้เพิ่มขึ้น มีความหลากหลาย
  2. ปรับปรุงแนวทางการประเมินความพึงพอใจ เพื่อนำผลมาพัฒนา
  3. ยกระดับการให้บริการ

แนวทางแก้ไขปัญหา

  1. เพิ่มบริการออนไลน์ให้มากขึ้น
  2. นำการตลาดมาใช้วิเคราะห์ความต้องการที่เพิ่มขึ้นของลูกค้า
ฝ่ายสนับสนุนการเรียนรู้และสื่อการศึกษา
  1. ปริมาณการขอใช้บริการผลิตและพัฒนาสื่อฯ และขอใช้บริการโสตฯ (ตัวชี้วัดที่ 10)

ผลงาน 2564

ครั้ง / ปี
0

ผลงาน 2565

ครั้ง / ปี
0

เป้าหมาย 2566

ครั้ง / ปี
0

ผลงาน 2566

ครั้ง / ปี (เพิ่มขึ้น 161.7%)
0

2. จัดอบรมเพื่อสนับสนุนการใช้งานเทคโนโลยีในห้อง Smart Classroom

ผลงาน 2564

ครั้ง / ปี (ผู้เข้าร่วม 97 คน)
0

ผลงาน 2565

ครั้ง / ปี (ผู้เข้าร่วม 126 คน)
0

เป้าหมาย 2566

ครั้ง / ปี
0

ผลงาน 2566

ครั้ง / ปี (ผู้เข้าร่วม 81 คน)
0

3. ประเมินผลการใช้ห้องเรียนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างต่อเนื่อง และมีผู้เข้าร่วมครบทุกสำนักวิชา

ผลงาน 2564

ครั้ง (ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน 3.64%)
0

ผลงาน 2565

ครั้ง (ค่าเฉลี่ยผลการประเมิน 4.04%)
0

เป้าหมาย 2566

ครั้ง / ปี
0

ผลงาน 2566

ครั้ง (83.34% ค่าเฉลี่ย 4.10%)
0

4. สร้างคอนเท็นต์เพื่อส่งเสริมการใช้ห้องเรียนอัจฉริยะและการใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์เพื่อเผยแพร่ให้แก่ผู้ใช้

ผลงาน 2564

รายการ
0

ผลงาน 2565

รายการ
0

เป้าหมาย 2566

รายการ
0

ผลงาน 2566

รายการ (เพิ่มขึ้น 80%)
0

บริการสื่อโสต  

13,514 ครั้ง

บริการภาพถ่าย/ภาพนิ่ง 

50,303 ไฟล์

สำเนาข้อสอบ 

1,407 รายวิชา

ผลิตรายการ/ผลิตวีดิทัศน์

170 ครั้ง

ปัญหา/อุปสรรค

  1. จำนวนห้อง/กิจกรรมใน มวล. มีมากขึ้น OT เพิ่มขึ้น บริการไม่ทั่วถึง เกิดข้อจำกัดในการให้บริการผลิตสื่อการศึกษา ทำได้น้อยลง การประเมินมีข้อจำกัดด้านเวลา และความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

แนวทางแก้ไขปัญหา

  1. จัดอบรม/ถ่ายทอดความรู้ จัดตั้งทีมผลิตเพิ่มเติม
ฝ่ายบริหารงานทั่วไปและเลขานุการ
  1. ปรับปรุงงานบริการแบบ One Stop Services ลดเวลา ลดค่าใช้จ่าย (ตัวชี้วัดที่ 11)

ผลงาน 2564

กระบวนการ
0

ผลงาน 2565

กระบวนการ
0

เป้าหมาย 2566

กระบวนการ
0

ผลงาน 2566

กระบวนการ (เพิ่มขึ้น 100%)
0

โครงการ “บริหารจัดการชั้นหนังสือเพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้สอยภายในห้องสมุด (Shelf Management)”

สำเร็จ

เพิ่มประสิทธิภาพ ลดเวลาการค้นหาหนังสือ, เพิ่มความพึงพอใจ
 

โครงการพัฒนา แอพพลิเคชั่น ARSA Framework
 

สำเร็จ

โครงการ Line OA สำหรับการให้บริการสื่อโสตฯ
 

สำเร็จ

โครงการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน (CLM Training)

สำเร็จ

ปัญหา/อุปสรรค

  1. การทำงานแบบข้ามสายงาน ยังมีข้อจำกัดในประเด็นของการให้ความร่วมมือ/การประเมินแบบข้ามสายงาน

แนวทางแก้ไขปัญหา

  1. ปรับปรุงรูปแบบการประเมินเน้น project-based มากกว่าประเมินภาระงานตามที่มอบหมาย มีการอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม เช่น Marketing Plan
ทีม CRM + ทีมวิชาการ + ทีมผลิตเอกสารกลาง + ทีมผลิตคอนเทนต์
  1. เพิ่มจำนวนหลักสูตรการอบรมการใช้สารสนเทศและหลักสูตรสนับสนุนการเรียนการสอน (ตัวชี้วัดที่ 12)

ผลงาน 2564

รายวิชา
0

ผลงาน 2565

รายวิชา
0

เป้าหมาย 2566

รายวิชา
0

ผลงาน 2566

รายวิชา (100%)
0

2. จำนวนผู้เข้าอบรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 (ตัวชี้วัดที่ 13)

ผลงาน 2564

คน
0

ผลงาน 2565

คน/ปี (570 คน/เดือน)
0

เป้าหมาย 2566

คน/ปี (เพิ่มขึ้นร้อยละ 20)
0

ผลงาน 2566

คน/ปี (+27.2%)
0

3. ร้อยละความพึงพอใจการเข้าใช้บริการของศูนย์บรรณสารฯ

ผลงาน 2564

คะแนน
0

ผลงาน 2565

คะแนน
0

เป้าหมาย 2566

มากกว่า 4.5
0

ผลงาน 2566

คะแนน (100%)
0

4. ศูนย์บรรณสารฯ สร้างสรรค์บริการสมาร์ท (Smart Services) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ใช้เข้าถึงบริการ ได้ทุกที่และทุกเวลา

ผลงาน 2564

เรื่อง
0

ผลงาน 2565

เรื่อง
0

เป้าหมาย 2566

เรื่อง
0

ผลงาน 2566

เรื่อง (100%)
0

Digital Content & Media 

10 รายวิชา

มีแผนปฏิบัติงานจัดทำบทเรียนออนไลน์ร่วมกับสำนักวิชา/หลักสูตร Digital Content & Media จำนวน 10 รายวิชา 
 

ทีมวิชาการเพิ่มหลักสูตรใหม่

สำเร็จ
 ทีมวิชาการ จะเพิ่มหลักสูตรใหม่ร่วมกับหลักสูตร เช่น
“การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้”

หลักสูตรเพิ่มขึ้น

14 หลักสูตร

จำนวนหลักสูตรที่เพิ่มมีทั้งสิ้น 14 หลักสูตร รวม 2912 คน 
 

บริการเพิ่มขึ้น

2 บริการ

 สร้างสรรค์บริการได้แก 2 บริการ ได้แก่ Line OA (Walailak Library) และ Line QA บริการงานโสตฯ
 

ปัญหา/อุปสรรค

  1. พฤติกรรมการใช้งานของนักศึกษาปรับเปลี่ยนเป็นออนไลน์มากขึ้น
  2. ปรับพื้นที่ให้เป็นชั้นปิด (รองรับการซ่อมหลังคา/renovate ชั้น 2-3 ในปี 2566-67)

แนวทางแก้ไขปัญหา

  1. ส่งเสริมการใช้งาน Document Delivery ผ่าน Line OA
  2. จัดทำโครงการ CLM Privilege Card (บัตรใจป้ำ ปรับพฤติกรรมเป็นทุน)