รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2564

ส่วนที่ 1

ผลการดำเนินงานตามกลยุทธ์การบริหารผลงานสู่ความเป็นเลิศเพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก
(World Class University)

ส่วนที่ 2

ผลการดำเนินงานตามกลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงตามนโยบายเร่งด่วนของอธิการบดี หรือยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเพื่อการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่องค์กรสมรรถนะสูง (HPO)

ส่วนที่ 3

ผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงานที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การประเมินหน่วยงาน

เป้าหมายและผลลัพธ์การบริหารผลงานสู่ความเป็นเลิศตามหลักการ OKRs
O1 Smart Classrrom 100% (อาคารเรียนรวม 6)

KR1  จัดหา 100% ภายในไตรมาสแรก

จัดตั้งทีมงานสนับสนุนสำหรับอาคารเรียนรวม 6

ผลสำเร็จ
0%
  • จัดทำคุณลักษณะห้องเรียน Smart Classroom แบ่งเป็น
  1. แบบ Basic 69 ห้อง
  2. Studio Online Classroom 1 ห้อง
  3. Panorama Classroom 1 ห้อง
  4. ห้องเรียน + Virtual Studio Classroom 1 ห้อง
  • จัดหารวม 72 ห้อง ประกอบด้วย 30-40 =56 ห้อง และ 70-80 16 ห้อง (อยู่ระหว่างการติดตั้ง)

KR2 ติดตั้ง 100% ภายในไตรมาสสอง

จัดตั้งทีมงานสนับสนุนสำหรับอาคารเรียนรวม 6

ผลสำเร็จ
0%
  • จัดทำคุณลักษณสื่อโสตฯ (ห้อง 300, 8 ห้อง, ห้อง 150 12 ห้อง) รวม 20 ห้อง (อยู่ระหว่างการติดตั้ง ได้ผู้รับจ้างแล้ว, ทำสัญญาแล้ว และรอเข้าติดตั้ง)

KR3 ส่งเสริมให้อาจารย์ใช้ 100 %

จัดหลักสูตรอบรมออนไลน์  สำรวจการใช้งานห้องเรียน

ผลสำเร็จ
0%
  • จัดหลักสูตรฝึกอบรมเพิ่มขึ้นจำนวน 14 ครั้ง (อบรมทุกเดือน)
  • จัดทีมสนับสนุน (ให้บริการ/สนับสนุนเพิ่มเติม)
  • จัดทำรายวิชา MOOC เรื่อง การใช้ห้องเรียน Smart Classroom (ให้บริการบน wu-elearning อยู่ระหว่างการดำเนินงานเป็น MOOC Courses)

โครงการขับเคลื่อนห้องเรียนอัจฉริยะ ( Smart Classroom)

  1. นโยบายส่งเสริมให้อาจารย์ทั้งหมดผ่านการอบรมการใช้ Smart Classroom
        • ปรับปรุงตัวเลขล่าสุด จำนวนอาจารย์ 645 คน (ข้อมูล ณ 12 สิงหาคม 2564) จำนวนอาจารย์ใหม่ 79 คน คงเหลือ 616 คน
        • อบรมไปแล้ว (62+63+64) จำนวน 573 คน คงเหลือ 43 คน (6.99%)
        • อาจารย์ใหม่ปี 2564 จำนวน 79 คน อบรมแล้ว 46 คน (ร้อยละ 58.2) คงเหลือ 33 คน (ร้อยละ 41.8) สำรวจแล้วเป็นอาจารย์ใหม่เข้า พ.ค.-ก.ค. 64 = 31 คน
  1. จัดฝึกอบรม “การใช้ห้องเรียน Smart Classroom” ทุกเดือน จัดได้ทั้งสิ้น 14 ครั้ง มีผู้เข้าร่วม 97 คน
        • ขอบคุณทุกสำนักวิชาที่ติดต่อให้ไปอบรมให้กับคณาจารย์ ทุกสำนักให้ความร่วมมือ (จำนวนมากกว่าร้อยละ 90)
        • อาจารย์ส่วนที่ยังไม่ได้รับการอบรม มีความประสงค์ที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง เมื่อมีหลักสูตร MOOC
        • สำหรับสำนักวิชาที่อาจารย์เข้าใหม่จำนวนมาก จะติดตามมาให้เข้ารับการอบรมในระยะต่อไป
  1. ประเมินการใช้ห้องเรียน Smart Classroom = 3.93 (เพิ่มขึ้นจาก 3.70, ผู้ตอบ 98 คน, Online Survey)
        • นักศึกษาตอบมากกว่าอาจารย์ ส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านการสื่อสาร เครือข่าย และความไม่พร้อมใช้ของอุปกรณ์
        • จัดประชุมกลุ่มแยกกลุ่มนักศึกษาและอาจารย์ นำผลมาปรับปรุงคุณลักษณะในอาคารเรียนรวม 6

Smart Classroom (อาคารเรียนรวม 6) จำนวน 73 ห้อง

  1. Basic Smart Classroom + กล้อง + Apple TV สำหรับเชื่อมต่อด้วย Ipad & Iphone + Zoom
        • รองรับ 35-40 ที่นั่ง จำนวน 57 ห้อง
        • รองรับ 70-80 ที่นั่ง จำนวน 13 ห้อง
Basic Smart Classroom
  1. Panorama Classroom
        • มีอุปกรณ์นอกเหนือจากห้องเรียนพื้นฐานคือ จอโปรเจคเตอร์ Panorama มีจำนวน 2 จอติดกัน
        • เพิ่มความสามารถในการนำเสนอ รองรับงานด้านกราฟิก รองรับการนำเสนอโครงงาน (project)
        • รองรับการบันทึกรายการของอาจารย์/รองรับการสอนออนไลน์ให้มีความน่าสนใจขึ้น
Panorama Classroom
  1. Studio Classroom
        • มีอุปกรณ์มาตรฐานและอุปกรณ์เพิ่มเติมในการบันทึกการสอนคือ กล้องบันทึกการเรียนการสอน (Tracking Camera) ไฟส่องสว่าง ฉากหลังสีเขียว บันทึกการเรียนโดยผ่านโปรแกรม OBS
        • รองรับการบันทึกการเรียนการสอนออนไลน์
        • อาจารย์สามารถบันทึกรายวิชาล่วงหน้า/ทำหลักสูตรออนไลน์
        • นักศึกษาสามารถใช้บริการห้องเรียนเพื่อบันทึก Clip หรือกิจกรรมการเรียนรู้อื่น ๆ
Studio Classroom
  1. Virtual Studio Classroom
        • มีอุปกรณ์มาตรฐาน และอุปกรณ์เพิ่มเติมในการบันทึกการสอนคือ กล้องบันทึกการเรียนการสอน (Tracking Camera) ไฟส่องสว่าง ฉากหลังสีเขียว
        • รองรับบันทึกการเรียนโดยผ่านโปรแกรม Tricaster Mini
        • รองรับการ Skype จากนอกห้องเรียนได้
        • รองรับการประชุมออนไลน์ โดยสามารถปรับฉากหลังในรูปแบบ 3D เพิ่มความการถ่ายทำรายวิชา MOOC,
O2 งบก่อสร้าง Digital Learning & Innovation Hub และ Central Library

KR1 จัดทำกรอบแนวคิดในไตรมาสแรก

สำรวจความต้องการและศึกษาข้อมูล ทำโครงการภายในไตรมาสแรก

ผลสำเร็จ
0%
  • แต่งตั้งคณะกรรมการฯ (ประชุม 2 ครั้ง ครั้งแรกนำเสนอของบปี 64 (ปรับปรุงแบบเดิม) และกรอบนำเสนองบปี 65

KR2 ประสานงาน/จัดประชุม/พัฒนาแบบให้ทันในไตรมาสที่สอง

จัดทำแผนงานและออกแบบร่วมกับส่วนอาคารฯ

ผลสำเร็จ
0%
  • คณะกรรมการประชุมร่วมกันหาข้อสรุปเบื้องต้นเกี่ยวกับพื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร Central Library (จัดประชุมไปแล้ว 2 ครั้ง)

     

KR3 มีแบบนำเสนอภายในปีงบประมาณ 2564

จัดจ้างภายในไตรมาสที่สองและพัฒนาแบบให้ทันเสนอของบฯ ปี 2565 ในไตรมาสสาม

ไม่บรรลุ
0%
  • อยู่ระหว่างทำการศึกษา “กรอบแนวคิด” เพื่อนำเสนอผู้บริหาร ก่อนที่จะจัดทำ Perspective นำเสนอผู้บริหาร ซึ่งคำขอให้ทันก่อนเสนอภายในเดือนพฤศจิกายน 2564 (เสนอของบแผ่นดินปี 2566) 
O3 มุ่งเน้นการผลิต Digital Content เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ออนไลน์

KR1 ตั้งทีมสนับสนุนในไตรมาสแรก, พัฒนาหลักสูตร re-skill /up-skill >20 หลักสูตร

จัดตั้งทีมสนับสนุนการผลิต/พัฒนาหลักสูตรอบรม/จัดทำแผนงานร่วมกับรายวิชา

ผลสำเร็จ
0%
  • มีคณะทำงานส่งเสริมการใช้สารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน (พนักงานมีส่วนร่วม 1 โครงการ)

KR2 จัดอบรมอย่างน้อย 20 หลักสูตร/เพิ่มบริการผลิต Digital Content

สำรวจความต้องการ/เปิดอบบรมหลักสูตร/เพิ่มบริการสนับสนุน

ผลสำเร็จ
0%
  • พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม (re-skill & up-skill) รวมทั้งสิ้น 45 หลักสูตร
  • หลักสูตรทั่วไป สำหรับอาจารย์ นักศึกษาและบุคลากร จำนวน 36 หลักสูตร (2564 เพิ่ม 16)
  • หลักสูตรเพื่อพัฒนา Competencies จำนวน 19 หลักสูตร (แบ่งเป็น 4 ชุด) ร่วมมือกับ ทมอ. พัฒนาหลักสูตร MOOC (สำหรับอาจารย์/บุคลากร)
  • สามารถจัดอบรมทั้งสิ้น 168 ครั้ง ลงทะเบียน 2,301 คน เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 2,057 คน คิดเป็นร้อยละ 89.40
  • นักศึกษา จำนวน 1,146 คน (ปริญญาตรี 1,069 คน บัณฑิตศึกษา 77 คน)
  • อาจารย์ จำนวน 327 คน และบุคลากร จำนวน 538 คน
  • บุคคลทั่วไป ได้แก่ นักศึกษาฝึกงาน ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอก จำนวน 46 คน

KR3 มีรายวิชาออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10 วิชา

พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ๆ พัฒนาแพลตฟอร์มการให้บริการ ((ภารกิจในด้านสนับสนุนการเรียนการสอน)

ผลสำเร็จ
0%
  • ร่วมกับสำนักวิชา 11 รายวิชา
  • เปิดสอนบน ThaiMOOC จำนวน 7 วิชา (เปิดแล้ว 1 วิชา กำลังผลิต 6 รายวิชา)
  • เปิดสอนบน e-Learning สำหรับวิชาศึกษาทั่วไป 3 วิชา ได้แก่ การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยปัญญาประดิษฐ์, การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสภาวะโลกร้อน, และกีฬา นันทนาการ และการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
  • สำหรับอาจารย์ คือ การใช้อุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการสอนในห้องเรียน Smart Classroom
  • แต่ละวิชาอยู่ระหว่างการผลิตภายใน 2/2564

หลักสูตรสนับสนุนการเรียนรู้ (2564)

สามารถจัดอบรมทั้งสิ้น 168 ครั้ง เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 2,057 คน 

  • นักศึกษา 1,146 คน
  • ปริญญาตรี 1,069 คน
  • บัณฑิตศึกษา 77 คน
  • อาจารย์ จำนวน 327 คน
  • บุคลากร จำนวน 538 คน
  • บุคคลทั่วไป 46 คน ได้แก่ นักศึกษาฝึกงาน ศิษย์เก่า และบุคคลภายนอก
  1. หลักสูตรทั่วไป 16 หลักสูตร
      • เทคนิคการแต่ง IG story ให้น่าสนใจและน่าติดตาม
      • สร้างสรรค์งานออกแบบออนไลน์ด้วย CANVA
      • ตัดต่อวิดีโอสำหรับมือถือได้เองแบบง่าย ๆ ด้วย KineMaster
      • สตรีม (Live Stream) ง่าย ๆ ด้วย OBS
      • นำเสนอข้อมูลที่ซับซ้อนให้เข้าใจง่ายด้วย Excel
      • เจาะลึกการใช้สกิลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Excel
      • การจัดการอ้างอิงและรายการบรรณานุกรมด้วย Endnote X9
      • การตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการด้วยโปรแกรม Turnitin
      • การใช้งานเทคโนโลยีสำหรับการเรียนการสอนในห้อง Smart Classroom
      • สร้างสื่อวิดีโออย่างง่ายด้วย Application Loom
      • การสร้างแบบทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนออนไลน์ง่าย ๆ ด้วย Socrative
      • การใช้งาน Zoom เพื่อการเรียนการสอนและการประชุมออนไลน์
      • เทคนิคการเขียน Script สำหรับการสร้างสื่อการสอนออนไลน์
      • การใช้งาน Cisco Webex เพื่อการเรียนการสอนและการประชุมออนไลน์
      • การใช้งาน Microsoft Team เพื่อการเรียนการสอนและการประชุมออนไลน์
      • แหล่งสารสนเทศภาษาไทยเพื่อการจัดทำผลงานวิชาการ
  1. Work Manual Series 4 หลักสูตร
      • เรียนรู้เทคนิคที่สำคัญเกี่ยวกับรูปแบบและการพิมพ์คู่มือปฏิบัติงานด้วย Microsoft word
      • มีชัยไปกว่าครึ่งถ้าพึ่ง flowchart
      • รู้จักและเรียนรู้การอ้างอิงในเนื้อหาและการจัดทำรายการบรรณานุกรมด้วยตัวเอง
      • เรียนรู้เทคนิคการทำผลงานวิชาการด้วย word และจัดบรรณานุกรมด้วย Endnote
  1. Research Support Series 5 หลักสูตร
      • การใช้ word และจัดบรรณานุกรมด้วย Endnote X9
      • Online Resources + Endnote X9
      • Online Resources + Turnitin
      • Endnote X9 + Turnitin
      • Online Resources + Endnote X9 + Turnitin
  1. Online Resources Series 5 หลักสูตร
      • การใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
      • การใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
      • การใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ
      • การใช้ฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
      • การใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
  1. Graphic Design Series จำนวน 4 หลักสูตร
      • ออกแบบและสร้าง Cover Template Design by by yourself
      • เรียนรู้เทคนิคการตกแต่งภาพ : Retouch
      • เรียนรู้เทคนิคการตกแต่งภาพ : Dicut
      • การสร้างงานกราฟิก : Draft & Logo

หลักสูตรออนไลน์ (MOOC)

O4 พัฒนาองค์กรให้เป็น HPO (จำนวนผู้ใช้/ความคุ้มค่า/ประสิทธิภาพ)

KR1 เพิ่มหลักสูตร/บริการสนับสนุน (20%)

เพิ่มจำนวนหลักสูตร/เพิ่มบริการสนับสนุน

ผลสำเร็จ
0%
  • เพิ่มได้ 16 หลักสูตร (28.6%) สามารถจัดอบรมทั้งสิ้น 168 ครั้ง มีเข้าร่วมอบรม 2,057 คน

KR2 จำนวนผู้ใช้บริการ/ได้รับการสนับสนุน (เพิ่ม 20%)

ผลสำเร็จ
0%
  • Onsite : 72,939
  • Online : 1,147,835
  • Circulation: 88,839
  • OPAC Searching: 300,309
  • Online 487,446
  • ระดับความพึงพอใจ: 4.68

KR3 พนักงาน 100% มีผลงานเป็นที่ประจักษ์

พนักงานทุกคนมีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 เรื่อง/คน

ผลสำเร็จ
0%
  • พนักงานทุกคนมีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 เรื่อง/คน
  • พัฒนาทีมคุณภาพโดยบูรณาการ KM+5ส+TQM+ห้องสมุดสีเขียว+สำนักงานสีเขียว/มีร้อยละความสำเร็จตามแผนงาน/งบประมาณ/โครงการ