เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ระบบ | Technology Hardware and System Software

เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ระบบ | Technology Hardware and System Software

คือ ส่วนที่ทำหน้าที่เป็นคำสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออาจเรียกว่า “โปรแกรม” ก็ได้ ซึ่งหมายถึงคำสั่งหรือชุดคำสั่ง สามารถใช้เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน เราต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรก็เขียนเป็นคำสั่งที่จะต้องสั่งเป็นขั้นตอน และแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียดและครบถ้วนก็จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สำหรับการเขียนโปรแกรมดังกล่าวใช้ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาก็จะนำไปใช้ในงานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมสต็อกสินค้าคงคลัง โปรแกรมคำนวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดือนพนักงาน เป็นต้น  ฮาร์ดแวร์ที่เป็นคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ เรียกว่า CBIS (Computer-Based    Information System) ซึ่งส่วนที่เกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด…
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน | Network Literacy

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน | Network Literacy

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์คืออะไรระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หมายถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อถึงกันซึ่งสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลและแบ่งปันทรัพยากรระหว่างกันได้ อุปกรณ์เครือข่ายเหล่านี้ใช้ระบบกฎที่เรียกว่าโปรโตคอลการสื่อสาร เพื่อส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์จริงหรือโดยใช้เทคโนโลยีไร้สาย เราลองมาตอบคำถามทั่วไปที่พบบ่อยเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์กัน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไรโหนดและลิงก์เป็นบล็อกการสร้างพื้นฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โหนดเครือข่ายอาจเป็นอุปกรณ์สื่อสารข้อมูล (DCE) เช่น โมเด็ม ฮับ หรือสวิตช์ หรืออุปกรณ์ปลายทางข้อมูล (DTE) เช่น คอมพิวเตอร์และเครื่องพิมพ์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป ลิงก์คือการส่งข้อมูลสื่อที่เชื่อมต่อระหว่าง 2 โหนด ลิงก์เป็นได้ทั้งแบบผ่านอุปกรณ์จริง เช่น สายเคเบิลหรือสายใยแก้วนำแสง หรือแบบที่ช่วยเพิ่มพื้นที่ว่างได้อย่างเครือข่ายไร้สาย ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้ โหนดต่างๆ จะเป็นไปตามชุดกฎเกณฑ์หรือโปรโตคอลที่กำหนดวิธีการส่งและรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านลิงก์ สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะกำหนดการออกแบบองค์ประกอบจริงและเชิงตรรกะเหล่านี้ โดยให้ข้อกำหนดเฉพาะสำหรับองค์ประกอบจริงของเครือข่าย องค์กรการทำงาน โปรโตคอล และขั้นตอนต่างๆ…
เทคโนโลยีสารสนเทศในยุคดิจิทัล | Information Technology in Digital Era

เทคโนโลยีสารสนเทศในยุคดิจิทัล | Information Technology in Digital Era

เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital literacy)         ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ทักษะความสามารถสำหรับการรู้ดิจิทัลนั้น สามารถแบ่งเป็น 4…
อินโฟกราฟิกนี้…ดีไฉนนนน (2)

อินโฟกราฟิกนี้…ดีไฉนนนน (2)

สวัสดีค่ะ .. ก่อนหน้านี้เคยเล่าให้ฟังแล้วว่า อินโฟกราฟิก คือ การนำเสนอข้อมูลที่เข้าใจยากให้เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่ายขึ้น และ องค์ประกอบของอินโฟกราฟิกที่ดี คือ Simplicity ความเรียบง่าย – ดูสบายตา ไม่ซับซ้อน ไม่ควรมีจุดเน้น ใช้สีหรือมีรายละเอียดของภาพและตัวหนังสือมากเกินไป Interestedness ความน่าสนใจ - นำเสนอเรื่องที่น่าสนใจ อยู่ในกระแส หรือถ้าไม่น่าสนใจก็เอามาแต่งตัวใหม่ให้น่าสนใจ Beauty ความสวยงาม – เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ เพราะความสวยงามของภาพจะดึงดูดคนให้มาอ่าน มาดูเนื้อหาในภาพ และเป็นตัวช่วยเพิ่มการจดจำได้ด้วย  ...เรามาดูกันต่อว่า ถ้าอยากจะต้องออกแบบสื่ออินโฟกราฟิกสักชิ้นนั้น มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง ขั้นตอนการวิเคราะห์…
Infographic นี้…ดีไฉนนนน

Infographic นี้…ดีไฉนนนน

สวัสดีค่ะ ผู้เขียนเรียนจบจากสำนักวิชาสารสนเทศ ... วันนี้เลยมีสาระมาเล่าให้ฟังค่ะ เนื่องจากไปลงเรียนวิชา การผลิตสื่อกราฟิกอย่างมืออาชีพ | Graphic Design Crash Course CMU012 ในระบบ ThaiMOOC มา เลยมาแบ่งปันเธอและฉันว่า "Infographic ที่กำลังเป็นที่นิยมนี้...ดีไฉน" ก็ขอตอบตรงนี้ว่า Infographic ดีจริง ๆ เพราะเป็นการสื่อที่มีประสิทธิภาพมากชนิดหนึ่ง เนื่องจากเป็นการนำเสนอข้อมูลด้วยภาพกราฟิกที่ทำให้ผู้ดูภาพสามารถเข้าใจข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ ตัวเลข สถิติปริมาณมาก ๆ ยากต่อความเข้าใจ…
จุดเริ่มต้น infographic

Infographic ไม่ใช่เข็มฉีดยา แต่มีที่มาจากนางพยาบาล

นางพยาบาลมาเกี่ยวข้องอะไรกับ infographic กันน้า .. มาค่ะมา.. จะเหลา เอ้ย! เล่าให้ฟัง จริงอยู่ ถ้าดูตามบริบท นางพยาบาลอาจจะห่างจาก infographic ไปสักนิด แต่ถ้าบอกว่า เกี่ยวโยงด้วยการนำเสนอ ..อันนี้พอจะเข้าเค้า แต่ก็ยังไม่ Wowww เท่ากับว่า ...จุดเริ่มต้นของการนำเสนอแบบ Infographic นั้น เกิดจาก "นางพยาบาล" ใช่ค่ะ ...เมื่อได้ลงทะเบียนเรียนวิชา การผลิตสื่อกราฟิกอย่างมืออาชีพ | Graphic Design…
เรื่องเล่า…จากหลักสูตรการสร้างวีดิทัศน์สำหรับรายวิชา MOOC บน ThaiMOOC

เรื่องเล่า…จากหลักสูตรการสร้างวีดิทัศน์สำหรับรายวิชา MOOC บน ThaiMOOC

ThaiMOOC "เคยเรียนแล้ว และเมื่อมาเรียนอีก ก็ยิ่งรู้...ยิ่งเข้าใจ และยิ่งตระหนักในความสำคัญของการเตรียมการ" "รายวิชานี้จะเป็นเรื่องของการจัดการเรียนการสอน ในเรื่องของการผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อใช้เป็นสื่อการสอนออนไลน์บนระบบเปิด ซึ่งเมื่อเรียนแล้วจะช่วยให้เข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนการผลิตรายวิชาบนระบบ MOOC ได้ดียิ่งขึ้นเหมาะสำหรับอาจารย์ ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ที่สนใจการสร้างวีดิทัศน์บนสื่อออนไลน์ทุกคน ที่จะรู้และเข้าใจในกระบวนการและหน้าที่ของตัวเอง" ต้องออกตัวก่อนว่า ผู้เขียนเคยเรียนรายวิชานี้เมื่อนานมาแล้ว เนื่องจากต้องมาเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างวีดิทัศน์สำหรับรายวิชาที่จะเปิดสอนบน ThaiMOOC ตอนนั้นยังเรียนเพราะความจำเป็น เรียนโดยไม่มีความรู้อะไรเกี่ยวกับ ThaiMOOC เลย แต่วันนี้เมื่อเวลาผ่านมาหลายปี ได้มีโอกาสกลับมาทบทวนใหม่ก็พบว่า "ยิ่งเรียนยิ่งรู้ - ยิ่งอ่านยิ่งใช่" เอาเนื้อหามาจับกับประสบการณ์ที่เราต้องทำ ทำให้ตระหนักและเข้าใจการทำงานมากขึ้น ทั้งยังช่วยตอกย้ำว่า…

การจัดการคลังภาพด้วย Google photo

ทุกคนคงมีการจัดเก็บไฟล์รูปภาพที่ถ่ายกับสมาร์ทโฟนเป็นจำนวนมาก แล้วพบปัญหาเมมโมรี่เต็มกันใช่ไหมคะ และแน่นอนว่าต้องลบภาพออก หรือย้ายที่จัดเก็บภาพที่กินเนื้อที่ เพื่อสามารถบันทึกภาพใหม่เข้ามาได้อีก ปัจจุบันเราสามารถย้ายอัลบั้มภาพที่ใช้พื้นที่หลาย GB ไปไว้บน Server ที่เรียกว่า Cloud ซึ่งผู้เขียนชอบใช้แอพพลิเคชั่น Google photo ในการ Sync ข้อมูลไปจัดเก็บที่ Google เพราะมีการเชื่อมต่อกับ Gmail อยู่แล้ว และเมื่อต้องการค้นหาภาพทั้งส่วนบุคคลหรือภาพที่เกี่ยวกับการทำงาน ก็ใช้วิธีค้นข้อมูลโดยพิมพ์คำค้นง่ายๆ เช่น หนังสือ, food ระบบ Google photo ก็จะดึงข้อมูลมาให้เราเลือกใช้หลากหลาย…

การถ่ายภาพกลางคืน

การถ่ายภาพกลางคืนที่ต้องการบรรยากาศเหมือนจริง ไม่นิยมใช้แฟลชในการถ่าย สิ่งสำคัญที่สุดจึงเป็นขาตั้ง สายลั่นชัตเตอร์ หรือรีโมตคอนโทรล รวมทั้งนาฬิกาจับเวลาและไฟฉายขนาดเล็กที่ควรติดตัวไปด้วย เพราะการถ่ายภาพในสภาพแสงที่น้อยต้องใช้ความไวชัตเตอร์ที่ต่ำมาก โดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 1-45 วินาที อย่างไรก็ตาม ควรถ่ายเผื่อหลายระยะเวลาเช่น ถ่ายมุมเดียวกัน 3 ภาพ แต่ละภาพห่างกัน 5-10 วินาที เนื่องจากระยะเวลาต่างกันจะให้สภาพแสงมีความสวยงามต่างกัน และแต่ละสถานที่ก็เหมาะกับการถ่ายด้วยระยะเวลาต่างกัน การถ่ายกลางคืนโดยทั่วไป ควรตั้งช่องรับแสงกลาง ๆ เช่น f8 แต่หากต้องการถ่ายสถานที่ที่ตกแต่งและประดับไฟกลางคืน ควรตั้งช่องรับแสงให้แคบลง เพื่อป้องกันไม่ให้ภาพฟุ้งเกินไปและจะช่วยให้ได้ลักษณะแสงไฟที่เป็นแฉกสวยงาม หากเป็นการถ่ายภาพพลุหรือดอกไม้ไฟในงานแสดงแสงสีเสียงหรืองานพิธีต่าง ๆ…

กฎสามส่วน และการจัดช่องว่าง การถ่ายภาพบุคคล

การถ่ายภาพบุคคลเป็นรูปแบบที่ได้รับการนิยมในระดับต้นๆของการถ่ายภาพในปัจจุบัน ช่างภาพบุคคลจึงควร ทำความเข้าใจพื้นฐานในการจัดองค์ประกอบภาพ ซึ่งประกอบด้วยกฎ 3 ส่วน ฉากหน้าและฉากหลัง โทนสี และองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กฎ 3 ส่วน กฎ 3 ส่วน เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่างภาพนิยมใช้ในการถ่ายภาพบุคคล (Portrait) เนื่องจากเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางตำแหน่งของตัวแบบซึ่งเป็นจุดสนใจหลักของภาพ รวมทั้งตำแหน่งของสิ่งอื่นที่เป็นจุดสนใจรองของภาพเช่นกัน คำว่า “สามส่วน” หมายถึง การแบ่งพื้นที่ของภาพที่มองเห็นออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กันในแนวนอนโดยใช้เส้นตรงแนวนอนคั่น 2…

Google translate ตัวช่วยในการทำงานที่ดี

Google translate ทุกๆ ครั้งที่มีการจัดทำประกาศข่าวเปิด ปิด บริการห้องสมุด แจ้งเปลี่ยนแปลงการบริการต่างๆ จำเป็นต้องประกาศเป็น สองภาษา เพื่อสมาชิกห้องสมุดจะได้รับทราบไปพร้อมกัน ตัวช่วยที่ง่ายและสะดวกที่สุดในการจัดทำประกาศข่าวแบบสองภาษาคือ Google translate โดยนำข้อความภาษาไทยที่ต้องการสื่อสาร และประกาศ แจ้งเตือนต่างๆ พิมพ์ใส่ในช่องแรก และเลือกแปลเป็นภาษาอังกฤษที่ต้องการ หลังจากได้เลือกเข้าใช้ Feature Google translate URL: http:s//translate.google.co.th แต่ไม่ใช่ว่าเราจะนำผลจากการแปลมาใช้ได้เลยทันที เพราะ Google translate ยังไม่ได้รองรับการแปลเป็นภาษาไทยเป็นรูปประโยคที่ถูกต้องสละสลวยอย่างเป็นทางการได้ จำเป็นต้องใช้ทักษะการสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษมาประกอบด้วยกัน…
การสร้างสื่อดิจิทัล ด้วยสมาร์ทโฟน ง่ายอย่างไม่น่าเชื่อ

การสร้างสื่อดิจิทัล ด้วยสมาร์ทโฟน ง่ายอย่างไม่น่าเชื่อ

ยุคปัจจุบันนี้ สมาร์โฟนมีบทบาทกับทุกเพศทุกวัย ไม่ว่าจะดูภาพยนตร์ ฟังเพลง ภาพกราฟิกสวยๆ ได้จากสื่อดิจิทัลทั้งหมด การสร้างสื่อดิจิทัลให้มีความน่าสนใจ ทันสมัยในยุคปัจจุบันมีเคล็ดลับเกร็ดความรู้ นำมาฝากนะคะ สื่อดิจิทัล หมายถึง สื่อที่มีการนำเอาข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และ วิดีโอ เป็นต้น โดย อาศัยเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าทางด้านคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยให้ข้อมูลที่เป็นสื่อต่างๆ เหล่านั้นมาแปลง สภาพ และเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเพื่อประโยชน์ในการใช้งานองค์ประกอบ 3 อย่างคือ  1.เทคโนโลยี คือ ในส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์ก่อน อย่างเช่นตอนนี้ถือสมาร์ทโฟนอยู่ก็ถือว่าเป็นอุปกรณ์ประเภทนึงที่จะใช้สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลได้ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ต่าง…
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creative Thinking and Innovations)  

ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creative Thinking and Innovations)  

ความคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking )  เป็นกุญแจสำคัญสู่การพัฒนาอันยั่งยืน เคล็ดลับในการมีความคิดสร้างสรรค์  คือ  อย่าหยุดคิด แต่อาจพักได้บ้าง ความคิดสร้างสรรค์ มาจากไหน? จากพรสรรค์  อัจฉริยะ มาตั้งแต่เกิดจากพรแสวง   การฝึกคิดอย่างสร้างสรรค์บ่อย ๆ  ฝึกอ่าน ฝึกเขียน ฝึกพูด  ฝึกลงมือทำ     จนเกิดเป็นความคิดสร้างสวรรค์ สิ่งจำเป็นที่ต้องมี เพื่อเตรียมรับกับความคิดสร้างสรรค์ คือ เชื่อมั่นในตนเองว่าเราทำได้  อย่าปิดกั้นความคิดอย่าหยุดคิดอ่านให้มากจะได้มีไอเดียมองประโยชน์ที่เกิดขึ้นในอนาคตมีทิศทางที่ชัดเจน เราได้อะไรจากความคิดสร้างสรรค์ การทำงานที่รวดเร็วขึ้น  ในงานประจําหากปรับเล็กน้อย…
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย  (Thai for Contemporary Communication)  

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย  (Thai for Contemporary Communication)  

การสื่อสารเพื่อความเข้าใจร่วมกัน” เป็นกุญแจดอกสำคัญ ในการดำรงอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข บนหลักของ ความเคารพ ความแตกต่าง ความหลากหลาย ด้วยจุดยืนที่สร้างสรรค์"๊WU014 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารร่วมสมัย" องค์ประกอบของการสื่อสารร่วมสมัย ผู้ส่งสาร (Transmitter, Source, Sender, Originator) คือ แหล่งกำเนิดของสารที่เกี่ยวกับความคิด เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแล้วส่งต่อไปยังผู้รับสาร ซึ่งการสื่อสารจะบรรลุผลได้นั้นทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารต้องมีทักษะในการสื่อสาร (Communication Skills) ทัศนคติ (Attitude) และระดับความรู้(Level of Knowledge) ในระดับเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน…