Learning how to learn ชวนมาติดตามเทคนิคการเรียนรู้แบบต่าง ๆ เช่น การเรียนรู้แบบสมอง 2 โหมด การเรียนรู้แบบ “Pomodoro” หรือ“มะเขือเทศ” ลองมาติดตามกันดูครับ การเรียนรู้ด้วยสมอง 2 โหมด Learning how to learn เป็นการปรับเปลี่ยนความคิด (mindset) ให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรู้เพิ่มพูนความรู้อย่างสม่ำเสมออย่างมีประสิทธิภาพจากแหล่งความรู้ที่เชื่อถือได้ ในการสร้างการเรียนรู้ สมองของเราสามารถจะเรียนรู้และจดจำสิ่งต่าง ได้จาก สมอง 2 โหมด คือ Focused Mode  หรือ โหมดจดจ่อ  เป็นการเรียนรู้ โดยใช้ทักษะจากที่เราเราเคยทำมาก่อนแล้ว  มีรูปแบบ มีที่  เราทำอยู่เป็นประจำอยู่แล้ว  เช่น การขับรถบนเส้นทางเดิม ๆ ที่เราทำประจำอยู่แล้ว ก็จะทำให้เราทำได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว ไม่หลงไปไหน แต่ ก็จะทำให้เราขาดโอกาสในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ DiffuseRead More →

การแก้ไขปัญหาด้วยความคิดสร้างสรรค์เป็นการพัฒนาความรู้และทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ซึ่งเป็นทักษะที่ได้รับการประเมิน ว่าเป็นหนึ่งในทักษะที่สำคัญที่สุดของทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดำรงชีวิตในสังคม การประกอบอาชีพหรือการทำงานในหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนหรือภาคสังคม ความหมายของคำว่า “ความคิดสร้างสรรค์” Creative Thinking Concept             ความคิดสร้างสรรค์มักนำไปสู่การสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ออกมาอยู่เสมอ โดยความคิดสร้างสรรค์เกิดจากกระบวนการคิดสิ่งใหม่ที่ดีกว่าหรือแก้ปัญหาได้ดีกว่าเดิมนำไปสู่กระบวนการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์หรือการบริการเป็นบริการใหม่ ความแตกต่างระหว่างความคิดสร้างสรรค์และการคิดวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ เกิดจากกระบวนการคิดแบบแยกส่วนหรือแตกความคิดให้ได้ความคิดใหม่มากในที่สุด ส่วนการคิดวิเคราะห์แบบรวมส่วนเพื่อวิเคราะห์และตัดสินใจเลือกตัวเลือกที่ดีที่สุดมักใช้ในกระบวนการแก้ปัญหา แหล่งที่มาของความคิดสร้างสรรค์ Sources of Creativity             ความคิดสร้างสรรค์มักมีบ่อเกิดหรือแหล่งที่มาอยู่ 5 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1. ปัญหา 2. ความท้าทาย 3. ความฝัน 4. ฉันทะ และ 5. สถานการณ์ เทคนิคในการกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ ทฤษฎีหรือเทคนิคที่สำคัญเทคนิคหนึ่งที่นำมาศึกษา ประยุกต์ใช้ให้คนเราได้มีความคิดสร้างสรรค์ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า “SCAMPER Technique” ซึ่งคิดค้นโดยอเล็กซ์ ออสบอร์น โดยเทคนิค SCAMPER เป็นชื่อย่อมาจากความหมายแต่ละตัวอักษรตามลำดับRead More →