ขนมกรอก ขนมในประเพณีให้ทานไฟนครศรีธรรมราช

"ขนมกรอก"  เชื่อกันว่าเป็นขนมในประเพณีให้ทานไฟที่สืบทอดมาจากขนมเบื้อง  หรือ ขนมกุมมาส ของเศรษฐีโกสิยะ ทำถวายพระสงฆ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ในสมัยพุทธกาล

Continue Readingขนมกรอก ขนมในประเพณีให้ทานไฟนครศรีธรรมราช
พราหมณ์ โบราณสถาน
พราหมณ์ โบราณสถาน

พราหมณ์ : ศาสนสถานในเมืองนครศรีธรรมราช

พราหมณ์ในนครศรีธรรมราชมีมาตั้งแต่อาณาจักรตามพรลิงค์ มีโบราณสถานเป็นหลักฐาน หอพระอิศวร หอพระนารายณ์ โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า ฐานพระสยมภูวนาถ

Continue Readingพราหมณ์ : ศาสนสถานในเมืองนครศรีธรรมราช

วิหารทับเกษตร ระเบียงรอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์

เมื่อเข้าไปในพื้นที่ภายในวิหารคด (หรือวิหารพระด้าน) ของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นอกจากจะเห็นองค์พระบรมธาตุเจดีย์และเจดีย์บริวารที่เรียงรายอยู่นับร้อยองค์แล้ว ยังมีสิ่งสะดุดตาอีกสิ่งหนึ่งก็คือ ระเบียงรอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งมุงด้วยกระเบื้องดินเผาสีแดง ระเบียงหรือวิหารนี้จึงเรียกกันว่า “วิหารทับเกษตร” หรือ “ระเบียงตีนธาตุ” (เครือข่ายการท่องเที่ยววัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นครศรีธรรมราช, 2015) วิหารทับเกษตร หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระระเบียงตีนธาตุ เป็นระเบียงหรือวิหารที่อยู่โดยรอบฐานองค์พระบรมธาตุเจดีย์ คําว่า “ทับเกษตร”…

Continue Readingวิหารทับเกษตร ระเบียงรอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์

สาละลังกา : คือต้นสาละตามความเชื่อในพุทธประวัติหรือไม่?

เมื่อเวลาไปวัดก็จะสังเกตเห็นต้นไม้ชนิดหนึ่ง มีดอกสวยงาม สีชมพูอมเหลืองหรือแดง ด้านในสีม่วงอ่อนอมชมพู มีกลิ่นหอมมาก ช่อดอกยาวประมาณ 2-3 ฟุต มีผลขนาดใหญ่เท่ากับลูกตะกร้อหรือลูกปืนใหญ่ ต้นไม้ชนิดนั้นก็คือ ต้นสาละลังกานั่นเอง ดังนั้นจึงมาทำความรู้จักกับต้นสาละลังกาว่ามีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาหรือไม่อย่างไร ตามพุทธประวัติกล่าวไว้ว่า ต้นสาละ เป็นต้นไม้ที่มีความเกี่ยวข้องกับสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า แต่ต้นสาละที่กล่าวถึงในเรื่องนี้ คือต้นสาละลังกา เพราะมีประวัติอันยาวนานที่มาจากศรีลังกานั่นเอง…

Continue Readingสาละลังกา : คือต้นสาละตามความเชื่อในพุทธประวัติหรือไม่?
พระบฏ ภาพเขียนผ้า
พระบฏ

พระบฏ : ภาพเขียนบนผืนผ้า

พระบฏใช้ผ้าขาว ความยาวของผ้าอย่างน้อย 80 เมตร เขียนภาพตามแนวนอน ภาพเขียนบนผ้าพระบฏ ภาพเขียนเกี่ยวกับ พระพุทธเจ้า พุทธประวัติหรือทศชาติชาดก คําสอนคติธรรมของพระพุทธเจ้า รูปพระพุทธเจ้า

Continue Readingพระบฏ : ภาพเขียนบนผืนผ้า

ร้านน้ำชา : สภาของมิตรที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน

การดื่มน้ำชา หรือทานอาหารในร้านน้ำชา เป็นเรื่องรอง  การได้พูดคุยกับคนถูกคอ ได้พูดเรื่องถูกใจ ได้ฟังเรื่องที่ชอบ เท่ากับเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ

Continue Readingร้านน้ำชา : สภาของมิตรที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน

พระเจ้าศรีธรรมโศกราช ปฐมกษัตริย์เมืองนครศรีธรรมราช

พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เป็นกษัตริย์ปกครองเมืองนครศรีธรรมราชโบราณในสมัยที่ยังเรียกว่า “ตามพรลิงค์” พระองค์เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช หรือราชวงศ์ปัทมวงศ์ ซึ่งเป็นราชวงศ์หนึ่ง ของสยามประเทศที่เคยมีอำนาจปกครอง อาณาจักรศรีธรรมาราช ซึ่งปกครองเมืองใหญ่ต่าง ๆ ในคาบสมุทรมลายู จำนวน 12 เมือง เรียกว่า เมืองสิบสองนักษัตร เมื่อสมัยสุโขทัยเรืองอำนาจ เป็นอาณาจักรไทยทางภาคเหนือและภาคกลาง อาณาจักรศรีธรรมาราช ก็มีอำนาจรุ่งเรืองทางภาคใต้…

Continue Readingพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ปฐมกษัตริย์เมืองนครศรีธรรมราช
ข้าวมันแกง
ข้าวมันแกง

ข้าวมันแกง : วัฒนธรรมอาหารร่วมสมัยบนคาบสมุทรมลายู

ข้าวมันแกง อาหารเช้าคู่ร้านน้ำชาของคนคอน มีหลายแกงแล้วแต่ร้านและพื้นที่ รสชาติ สี กลิ่นและแกงแตกต่างกันไม่มาก กินได้ทั้งวัน

Continue Readingข้าวมันแกง : วัฒนธรรมอาหารร่วมสมัยบนคาบสมุทรมลายู

บ้านนกนางแอ่น : ทองคำขาวแห่งเมืองปากพนัง

บ้านนกนางแอ่น อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ถือว่าเป็นสถานที่ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักกันดี ปัจจุบันมีบ้านนกนางแอ่นหรือคอนโนกนางแอ่นตั้งเรียงรายอยู่หลายร้อยหลัง แต่ผู้อ่านทราบหรือไม่ว่า สาเหตุใดที่นกนางแอ่นย้ายที่อยู่อาศัยจากถ้ำบนเกาะกลางทะเล มาอยู่ในชุมชนเมืองกับผู้คน และบ้านนกนางแอ่นหลังแรกของอำเภอปากพนังคือหลังใด ชวนไปอ่านกันค่ะ

Continue Readingบ้านนกนางแอ่น : ทองคำขาวแห่งเมืองปากพนัง
Read more about the article วัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร
โบราณสถานโมคลาน อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

วัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร

วัดโมคลาน ตั้งอยู่ที่ ตั้งอยู่ ณ บ้านโมคลาน หมู่ที่ 12 ตำบลโมคลาน อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จากหลักฐานที่พบทั้งเทวสถาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สระน้ำโบราณ (สระน้ำปัจจุบันไม่มีแล้ว) ในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกายในแดนนี้มาก่อน ต่อมาด้วยอิทธิพลของพุทธศาสนาที่ได้เข้ามาแพร่หลายและรุ่งเรืองในแถบนี้ ทำให้ชุมขนโมคลานเปลี่ยนมารับนับถือพุทธศาสนาไปด้วย สันนิษฐานว่าในช่วงแรกน่าจะเป็นพุทธศาสนานิกายเถรวาทหรือลัทธิหินยาน ซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรืองอยู่ในแถบนี้ หลังจากนั้นราวปี พ.ศ.…

Continue Readingวัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร

End of content

No more pages to load