วิหารพระทรงม้า : วิหารแห่งประติมากรรม “มหาภิเนษกรมณ์”

วิหารพระทรงม้า วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น วิหารพระม้า หรือ วิหารพระทรงม้า หรือ วิหารพระมหาเภิเนษกรม อันเป็นชื่อเรียกทางราชการ แต่ชาวนครนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า วิหารพระม้า ที่เรียกเช่นนี้ก็เพราะว่าภายในวิหารนี้ มีปูนปั้นเป็นภาพเกี่ยวกับเรื่องพระพุทธประวัติตอนพระพุทธองค์ทรงม้าเสด็จออกบรรพชา อยู่ที่ฝาผนังจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า วิหารพระม้า (วิเชียร ณ นคร และคณะ, 2521, น. 450) ดังนั้น จึงถือว่าวิหารพระทรงม้า…

Continue Readingวิหารพระทรงม้า : วิหารแห่งประติมากรรม “มหาภิเนษกรมณ์”

ข้าวยาโค ข้าวแห่งพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนนครศรีธรรมราช

การกวนข้าวยาโค ถือเป็นพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช ที่สืบทอดกันมาครั้งโบราณกาล โดยเริ่มต้นจากความเชื่อและความศรัทธา โดยมีการนำน้ำนมข้าวและผลผลิตทางการเกษตรมาร่วมกันกวนเป็นข้าวยาโค เพื่อถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ ซึ่งถือเป็นการสร้างบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ และผลบุญเหล่านี้จะส่งผลให้ผลผลิตในเรือกสวนไร่นา มีความ เจริญงอกงาม อุดมสมบูรณ์ และข้าวยาโคนี้ ยังถือเป็นข้าวทิพย์ หากใครได้รับประทานจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่ชีวิต

Continue Readingข้าวยาโค ข้าวแห่งพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนนครศรีธรรมราช

หลาโดหก (ศาลาประดู่หก)

หลาโดหก ตั้งอยู่บริเวณนอกกำแพงเมืองนครศรีธรรมราช ด้านทิศเหนือ ตรงข้ามกับสนามหน้าเมือง “หลาโดหก” เป็นชื่อเรียกในภาษาไทยสำนวนท้องถิ่นใต้

Continue Readingหลาโดหก (ศาลาประดู่หก)

อนุสาวรีย์วีรไทย (พ่อจ่าดำ) อนุสรณ์สถานแห่งความกล้าหาญของทหารไทย

อนุสาวรีย์วีรไทย หรือที่มีชื่อเต็มว่า “อนุสาวรีย์วีรไทย พ.ศ.2484” และ อีกชื่อหนึ่งที่ชาวเมืองนครศรีธรรมราช เรียกกันว่า “พ่อจ่าดำ หรือ เจ้าพ่อดำ” ตั้งอยู่ภายในใจกลางของค่ายวชิราวุธอันเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการกองทัพภาคที่ 4 เป็นอนุสรณ์แห่งความกล้าหาญของทหารไทย ที่ต่อต้านการยกพลขึ้นบกของทหารญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484

Continue Readingอนุสาวรีย์วีรไทย (พ่อจ่าดำ) อนุสรณ์สถานแห่งความกล้าหาญของทหารไทย
สวดด้าน พระด้าน
สวดด้าน พระด้าน

สวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

สวดด้าน มีเฉพาะในวันธรรมสวนะ เวลาก่อนเพลก่อนพระสงฆ์จะขึ้นธรรมาสน์เทศน์ประชาชนที่มารอฟังการแสดงธรรมเทศนาอ่านหนังสือร้อยกรองเป็นภาษาถิ่นใต้

Continue Readingสวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

เจดีย์ยักษ์

เจดีย์ยักษ์นี้ตั้งอยู่ระหว่างที่ทำการเทศบาลนครนครศรีธรรมราชและวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ด้านหน้าเป็นถนนราชดำเนิน บริเวณนี้ชาวบ้านเรียกว่า “วัดพระเงิน” หรือ “วัดเสมาเงิน แต่ไม่ได้ยินชื่อวัด “เจดีย์ยักษ์” ซึ่งอาจจะเป็นคติความเชื่อสมัยโบราณว่าการสร้างเจดีย์ขนาดใหญ่ๆ จะแยกออกมาจากวัด

Continue Readingเจดีย์ยักษ์

เทริด : ศิราภรณ์ของโนรา

เทริด เครื่องประดับศีรษะโนรา ลักษณะคล้ายมงกุฎหรือชฎา ถ้าเป็นเทริดที่เข้าพิธีแล้วจะมีด้ายมงคลตกแต่งประดับไว้ด้วย

Continue Readingเทริด : ศิราภรณ์ของโนรา

เจดีย์หกหว้า : เครื่องหมายแทนความกตัญญู ความเชื่อ และความศรัทธาที่ผูกพันอยู่กับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

เจดีย์หกหว้าหรือเจดีย์ดำ เป็นเจดีย์หินแบบจีน มีความเชื่อกันว่าเจดีย์แห่งนี้เป็นเจดีย์ที่บรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาได้มีการสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชประดิษฐานไว้ที่หน้าเจดีย์หกหว้านี้

Continue Readingเจดีย์หกหว้า : เครื่องหมายแทนความกตัญญู ความเชื่อ และความศรัทธาที่ผูกพันอยู่กับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ขนมกรอก ขนมในประเพณีให้ทานไฟนครศรีธรรมราช

"ขนมกรอก"  เชื่อกันว่าเป็นขนมในประเพณีให้ทานไฟที่สืบทอดมาจากขนมเบื้อง  หรือ ขนมกุมมาส ของเศรษฐีโกสิยะ ทำถวายพระสงฆ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ในสมัยพุทธกาล

Continue Readingขนมกรอก ขนมในประเพณีให้ทานไฟนครศรีธรรมราช
พราหมณ์ โบราณสถาน
พราหมณ์ โบราณสถาน

พราหมณ์ : ศาสนสถานในเมืองนครศรีธรรมราช

พราหมณ์ในนครศรีธรรมราชมีมาตั้งแต่อาณาจักรตามพรลิงค์ มีโบราณสถานเป็นหลักฐาน หอพระอิศวร หอพระนารายณ์ โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า ฐานพระสยมภูวนาถ

Continue Readingพราหมณ์ : ศาสนสถานในเมืองนครศรีธรรมราช

End of content

No more pages to load