พลูดีนครศรีธรรมราช : พลูปากหราม พลูวังโหล

พลู มีบทบาทต่อประเพณีวัฒนธรรมของเมืองนครศรีธรรมราช พลูที่นิยมกินกันมากที่สุดคือพลูปากหรามจนมีสำนวนว่า "... พลูปากหราม ควายงามสิชล คนงานฉลอง"

Continue Readingพลูดีนครศรีธรรมราช : พลูปากหราม พลูวังโหล
สวดด้าน พระด้าน
สวดด้าน พระด้าน

สวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

สวดด้าน มีเฉพาะในวันธรรมสวนะ เวลาก่อนเพลก่อนพระสงฆ์จะขึ้นธรรมาสน์เทศน์ประชาชนที่มารอฟังการแสดงธรรมเทศนาอ่านหนังสือร้อยกรองเป็นภาษาถิ่นใต้

Continue Readingสวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

เทริด : ศิราภรณ์ของโนรา

เทริด เครื่องประดับศีรษะโนรา ลักษณะคล้ายมงกุฎหรือชฎา ถ้าเป็นเทริดที่เข้าพิธีแล้วจะมีด้ายมงคลตกแต่งประดับไว้ด้วย

Continue Readingเทริด : ศิราภรณ์ของโนรา
พราหมณ์ โบราณสถาน
พราหมณ์ โบราณสถาน

พราหมณ์ : ศาสนสถานในเมืองนครศรีธรรมราช

พราหมณ์ในนครศรีธรรมราชมีมาตั้งแต่อาณาจักรตามพรลิงค์ มีโบราณสถานเป็นหลักฐาน หอพระอิศวร หอพระนารายณ์ โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า ฐานพระสยมภูวนาถ

Continue Readingพราหมณ์ : ศาสนสถานในเมืองนครศรีธรรมราช
พระบฏ ภาพเขียนผ้า
พระบฏ

พระบฏ : ภาพเขียนบนผืนผ้า

พระบฏใช้ผ้าขาว ความยาวของผ้าอย่างน้อย 80 เมตร เขียนภาพตามแนวนอน ภาพเขียนบนผ้าพระบฏ ภาพเขียนเกี่ยวกับ พระพุทธเจ้า พุทธประวัติหรือทศชาติชาดก คําสอนคติธรรมของพระพุทธเจ้า รูปพระพุทธเจ้า

Continue Readingพระบฏ : ภาพเขียนบนผืนผ้า
ร้านน้ำชา
ร้านน้ำชา

ร้านน้ำชา : สภาของมิตร

การทานน้ำชา ทานอาหารในร้านน้ำชา เป็นเรื่องรอง  การได้พูดคุยกับคนถูกคอ ได้พูดเรื่องถูกใจ ได้ฟังเรื่องที่ชอบ เท่ากับเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ

Continue Readingร้านน้ำชา : สภาของมิตร
ข้าวมันแกง
ข้าวมันแกง

ข้าวมันแกง : วัฒนธรรมอาหารร่วมสมัยบนคาบสมุทรมลายู

ข้าวมันแกง อาหารเช้าคู่ร้านน้ำชาของคนคอน มีหลายแกงแล้วแต่ร้านและพื้นที่ รสชาติ สี กลิ่นและแกงแตกต่างกันไม่มาก กินได้ทั้งวัน

Continue Readingข้าวมันแกง : วัฒนธรรมอาหารร่วมสมัยบนคาบสมุทรมลายู
หนมปะดา
หนมปะดา

หนมปะดา : รสชาติที่คงอยู่ เมนูคู่เมืองคอน

" หนมปะดา " แป้งทําจากกล้วยนํ้าว้าผสมแป้งห่อไส้ เจาะรูตรงกลาง แต่บางที่ก็แอบไม่มีรู ทอดในน้ำมัน ส่วนประกอบหลักแบ่งเป็น แป้ง ไส้ และการทอ

Continue Readingหนมปะดา : รสชาติที่คงอยู่ เมนูคู่เมืองคอน

สิบสองนักษัตร : เงินนะโมที่เมืองนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เมืองสิบสองนักษัตร มีตราประจำจังหวัด เป็นวงกลม 2 ชั้น ชั้นในเป็นรูปพระบรมธาตุเจดีย์เปล่งรัศมีโดยรอบ ชั้นนอกมี 12 นักษัตรล้อมรอบ เงินตรานะโมเคยใช้เป็นเงินตราก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 จารึกอักษรตัว "นะ" ลอลิงกลับหลัง อักษรปัลลวะไว้บนเม็ดเงิน

Continue Readingสิบสองนักษัตร : เงินนะโมที่เมืองนครศรีธรรมราช

เขาคา :  ดินแดนแห่งพระศิวะ

ไศวภูมิมณฑลเขาคา สอดคล้องกับคติการสถาปนาภูเขาศักดิ์สิทธิ์ตามหลักไศวนิกาย เทวสถานบนเส้นทางการค้าใหญ่สุดบนคาบสมุทรมลายู เจริญรุ่งเรืองกว่า 400 ปี สวยัมภูลึงค์แห่งเขาคา มีเพียงหนึ่งเดียวในประเทศไทย สันนิษฐานว่าเป็นที่มาของชื่อ "ตามพรลิงค์"

Continue Readingเขาคา :  ดินแดนแห่งพระศิวะ

End of content

No more pages to load