ต้ม
ต้ม

ต้ม ปัด เกอตูปัต : อาหารพหุวัฒนธรรมที่เมืองนครศรีธรรมราช

ตูเกอตูปัต เป็นคำเรียก ต้ม ของชาวมุสลิม นับเป็นของว่างหรือขนมในงานบุญทั้งพุทธศาสนิกชน และชาวมุสลิม สำหรับชาวมุสลิมแล้ว “เกอตูปัต” (کتوڤت, kertupat) คือ ข้าวเหนียวผัดกับน้ำกะทิ ห่อด้วยใบกะพ้อเป็นรูปสามเหลี่ยม นำไปต้มจนสุก กินเป็นอาหารว่างก็ดี หรือจะกินเป็นอาหารหลักก็ได้ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามพื้นถิ่น และด้วยความที่เมืองคอนเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม เราจึงเห็นต้ม ปัด ในประเพณีลากพระ และตูปะ หรือเกอตูปัตในวันฮารีรายอ อาหารบนคาบสมุทรมลายู

Continue Readingต้ม ปัด เกอตูปัต : อาหารพหุวัฒนธรรมที่เมืองนครศรีธรรมราช
ประเพณีแห่นางดาน
นางดาน

แห่นางดาน : ประเพณีปีใหม่ของพราหมณ์เพื่อบูชาเทพบริวารทั้ง 4 ด้วยไม้กระดาน 3 แผ่น

ประเพณีแห่นางดาน เป็นการบูชาเทพบริวารในคติพราหมณ์ด้วยแผ่นไม้กระดาน กว้าง 1 ศอก สูง 4 ศอก 3 แผ่นแทนพระจันทร์และพระอาทิตย์ พระธรณี พระคงคา สมมติแทนเทพทั้ง 4 รับเสด็จพระอิศวรหรือพระศิวะ

Continue Readingแห่นางดาน : ประเพณีปีใหม่ของพราหมณ์เพื่อบูชาเทพบริวารทั้ง 4 ด้วยไม้กระดาน 3 แผ่น

ข้าวยาโค ข้าวแห่งพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนนครศรีธรรมราช

การกวนข้าวยาโค ถือเป็นพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช ที่สืบทอดกันมาครั้งโบราณกาล โดยเริ่มต้นจากความเชื่อและความศรัทธา โดยมีการนำน้ำนมข้าวและผลผลิตทางการเกษตรมาร่วมกันกวนเป็นข้าวยาโค เพื่อถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ ซึ่งถือเป็นการสร้างบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ และผลบุญเหล่านี้จะส่งผลให้ผลผลิตในเรือกสวนไร่นา มีความ เจริญงอกงาม อุดมสมบูรณ์ และข้าวยาโคนี้ ยังถือเป็นข้าวทิพย์ หากใครได้รับประทานจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่ชีวิต

Continue Readingข้าวยาโค ข้าวแห่งพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนนครศรีธรรมราช
สวดด้าน พระด้าน
สวดด้าน พระด้าน

สวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

สวดด้าน มีเฉพาะในวันธรรมสวนะ เวลาก่อนเพลก่อนพระสงฆ์จะขึ้นธรรมาสน์เทศน์ประชาชนที่มารอฟังการแสดงธรรมเทศนาอ่านหนังสือร้อยกรองเป็นภาษาถิ่นใต้

Continue Readingสวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

ขนมกรอก ขนมในประเพณีให้ทานไฟนครศรีธรรมราช

"ขนมกรอก"  เชื่อกันว่าเป็นขนมในประเพณีให้ทานไฟที่สืบทอดมาจากขนมเบื้อง  หรือ ขนมกุมมาส ของเศรษฐีโกสิยะ ทำถวายพระสงฆ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ในสมัยพุทธกาล

Continue Readingขนมกรอก ขนมในประเพณีให้ทานไฟนครศรีธรรมราช

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช วิถีการทำนา การทำนาดำ เป็นการปลูกข้าว เป็นหนึ่งสองวิธีของการทำงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Continue Readingการทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์        เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ เป็นประเพณีการทำบุญด้วยเหนียวหลาม หรือข้าวหลามของชาวอำเภอท่าศาลา  ในเดือน 3 วันมาฆบูชา ชองทุกปี         เมื่อได้ข้าวหลาม หรือ “เหนียวหลาม” แล้วนอกจากแบ่งปันให้เพื่อนบ้านแล้ว ชาวบ้านจะนำมาเก็บไว้ในโบสถ์หรือ  “ใส่ข้าวโบสถ์”…

Continue Readingเดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

End of content

No more pages to load