Read more about the article วัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร
โบราณสถานโมคลาน อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

วัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร

วัดโมคลาน ตั้งอยู่ที่ ตั้งอยู่ ณ บ้านโมคลาน หมู่ที่ 12 ตำบลโมคลาน อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จากหลักฐานที่พบทั้งเทวสถาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สระน้ำโบราณ (สระน้ำปัจจุบันไม่มีแล้ว) ในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกายในแดนนี้มาก่อน ต่อมาด้วยอิทธิพลของพุทธศาสนาที่ได้เข้ามาแพร่หลายและรุ่งเรืองในแถบนี้ ทำให้ชุมขนโมคลานเปลี่ยนมารับนับถือพุทธศาสนาไปด้วย สันนิษฐานว่าในช่วงแรกน่าจะเป็นพุทธศาสนานิกายเถรวาทหรือลัทธิหินยาน ซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรืองอยู่ในแถบนี้ หลังจากนั้นราวปี พ.ศ.…

Continue Readingวัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร

ปล่องโรงสีไฟโบราณ : สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้ำปากพนัง

ปล่องโรงสีไฟโบราณ สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และยังมีการเปรียบเป็นกระถางต้นไม้ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ

Continue Readingปล่องโรงสีไฟโบราณ : สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้ำปากพนัง

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับเมืองนครศรีธรรมราช

ความเกี่ยวโยงกันระหว่างเมืองนครศรีธรรมราช กับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ดูจะเป็นเรื่องที่เหมาะเจาะลงตัว จนบางครั้งดูเป็นเรื่องบังเอิญที่ลงตัว แต่ยากที่จะอธิบายด้วยเหตุผล เริ่มด้วยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมัยดํารงตําแหน่งพระยาตาก (สิน) ได้ มีความเกี่ยวข้องกับภูมิภาคครบทั้ง 5 ภูมิภาคของประเทศ นับตั้งแต่กําเนิดขึ้นในภาคกลาง แล้วไปเป็นพระยาตากที่ภาคเหนือ ต่อมาไปตั้งชุมชุมเจ้าตากที่ภาคตะวันออก แล้วไปรบชนะข้าศึกที่มาจากภาคตะวันตก และสุดท้ายได้กลับมาใช้ชีวิตช่วงสุดท้ายที่ภาคใต้ และในภาคใต้นี่เอง ชะตาได้กําหนดให้พระองค์มาพบกับความสงบสุขในบั้นปลาย ชีวิตที่เมืองนครศรีธรรมราช…

Continue Readingสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกับเมืองนครศรีธรรมราช

พระเจ้าตากสินกับวัดเขาขุนพนม

พระเจ้าตากสินกับวัดเขาขุนพนม ที่อยู่ : หมู่ที่ 3 ที่ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช (ห่างจากตัวเมือง 24 กิโลเมตร) เนื้อที่ : มีเนื้อที่ทั้งหมด 35 ไร่  นิกาย : มหานิกาย ประเภทวัด…

Continue Readingพระเจ้าตากสินกับวัดเขาขุนพนม
Read more about the article โบราณสถานโมคลาน
โบราณสถานโมคลาน อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช

โบราณสถานโมคลาน

จากหลักฐานที่พบทั้งเทวสถาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สระน้ำโบราณ ในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกายในแดนนี้มาก่อน ต่อมาด้วยอิทธิพลของพุทธศาสนาที่ได้เข้ามาแพร่หลายและรุ่งเรืองในแถบนี้ ทำให้ชุมขนโมคลานเปลี่ยนมารับนับถือพุทธศาสนาไปด้วย สันนิษฐานว่าในช่วงแรกน่าจะเป็นพุทธศาสนานิกายเถรวาทหรือลัทธิหินยาน ซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรืองอยู่ในแถบนี้ หลังจากนั้นราวปี พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๙๐๐ สมัยอาณาจักรสุโขทัย (วัดโมคลาน https://th.wikipedia.org/wiki/วัดโมคลาน) โบราณสถานโมคลาน อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช โบราณสถานโมคลาน…

Continue Readingโบราณสถานโมคลาน

วิหารสามจอม หรือวิหารพระเจ้าศรีธรรมโศกราช

หารหลังเล็กอีกหลังซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตพุทธาวาส ใกล้กับวิหารพระแอด และวิหารพระด้าน (วิหารคด) แม้จะสร้างขึ้นหลังวิหารอื่น ๆ แต่ก็เป็นที่รู้จักกันกว้างขวาง ในฐานะเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเครื่องขนาดใหญ่ ซึ่งได้รับการขนานนามว่า “พระพุทธรูปพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช”

Continue Readingวิหารสามจอม หรือวิหารพระเจ้าศรีธรรมโศกราช

วัดเขาขุนพนม

วัดเขาขุนพนม ที่อยู่ : ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช (ห่างจากตัวเมือง 24 กิโลเมตร) เนื้อที่ประมาณ 27 ไร่ 1 งานนิกาย : ธรรมยุตประเภทวัด : วัดราษฎร์ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัด :…

Continue Readingวัดเขาขุนพนม

เขาคา :  ดินแดนแห่งพระศิวะ

ไศวภูมิมณฑลเขาคา สอดคล้องกับคติการสถาปนาภูเขาศักดิ์สิทธิ์ตามหลักไศวนิกาย เทวสถานบนเส้นทางการค้าใหญ่สุดบนคาบสมุทรมลายู เจริญรุ่งเรืองกว่า 400 ปี สวยัมภูลึงค์แห่งเขาคา มีเพียงหนึ่งเดียวในประเทศไทย สันนิษฐานว่าเป็นที่มาของชื่อ "ตามพรลิงค์"

Continue Readingเขาคา :  ดินแดนแห่งพระศิวะ

วิหารโพธิ์พระเดิม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

วิหารโพธิ์พระเดิม ตั้งอยู่ในวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นวิหารทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีต้นโพธิ์ลังกา อยู่กลางวิหารเช่นเดียวกับวิหารโพธิ์ลังกา แต่มีขนาดย่อมกว่า

Continue Readingวิหารโพธิ์พระเดิม วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

วิหารโพธิ์ลังกา

วิหารโพธิ์ลังกา เป็นวิหารประดิษฐานสิ่งสำคัญที่เป็นสัญลักษณ์ของวัดในพระพุทธศาสนาอยู่สองอย่าง คือพระพุทธรูปและต้นโพธิ์ ซึ่งมาจากศรีลังกาปลูกมานับร้อยปี เรียกอีกชื่อหนึ่ง “วิหารโพธิฆระ” หรือ “วิหารโพธิมณเฑียร” ทางทิศตะวันตกมีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ยาว 6 วา (12 เมตร) ประดิษฐานอยู่ จึงเป็นสัญลักษณ์สะท้อนคตินิยมของชาวพุทธในศรีลังกาที่ชาวพุทธในนครศรีธรรมราชรับมา

Continue Readingวิหารโพธิ์ลังกา

End of content

No more pages to load