วัดแจ้่ง
ตึกกษัตร หรือเก๋งจีน

วัดแจ้งวรวิหาร

วัดแจ้งวรวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เป็นวัดโบราณสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์

Continue Readingวัดแจ้งวรวิหาร

บ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

บ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

Continue Readingบ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

ดอกประดู่  ดอกไม้แห่งความศักดิ์สิทธิ์และการเป็นหนึ่งเดียวกัน

ดอกประดู่  ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  และเป็นคำที่นำมาใช้เรียกรุ่นของนักศึกษาที่เข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ว่า "ช่อประดู่"  เปรียบเหมือนดอกประดู่ที่แบ่งบาน เติบโตในดินแดนประดู่แห่งนี้

Continue Readingดอกประดู่  ดอกไม้แห่งความศักดิ์สิทธิ์และการเป็นหนึ่งเดียวกัน

ทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย

ทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย ประวัติทวดกลาย ทวดกลาย  นักรบบรรพชนและจอมขมังเวท ผู้ปกปักรักษาสะพานข้ามคลองกลาย อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช แทนความรู้สึกเคารพและแรงศรัทธา ที่มีต่อ ”ทวดกลาย” หรือ โต๊ะกลาย รูปปั้นชาย นั่งขัดสมาส มือทั้งสองข้างวางไว้บนเข่า ห่มสไบเฉียงและโพกหัวด้วยผ้าสีขาว ตั้งวางอยู่ในศาลาเชิงสะพานฝั่งตำบลสระแก้ว…

Continue Readingทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย

คลองกลาย : คลองต้นน้ำจากผืนป่ากรุงชิง

คลองกลาย : คลองต้นน้ำจากผืนป่ากรุงชิง "คลองกลาย" สายน้ำมีต้นกำเนิดมาจากต้นน้ำบนผืนป่ากรุงชิง ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาหลวงและอุทยานแห่งชาติเขานัน จังหวัดนครศรีธรรมราช ผืนป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์มากอีกผืนหนึ่งของประเทศไทย สายน้ำจะมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก  ส่งผลให้มีสภาพอากาศเย็นตลอดปี คลองกลายถือเป็นอีกหนึ่งดัชนีที่บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติได้เป็นอย่างดี กรุงชิง  เป็นที่ราบสูงแห่งหนึ่งของเทีอกเขาหลวง มีเขายอดเหลือง เขากลบ เขาวังไฟ เขานัน รายล้อม จึงเรียกที่ราบนี้ว่า “อ่าวกรุงชิง” ซึ่งหมายถึงที่ราบสูงในวงล้อมของภูเขา…

Continue Readingคลองกลาย : คลองต้นน้ำจากผืนป่ากรุงชิง

ผ้ายกเมืองนคร : มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรมอันลำ้ค่าของ “ชาวนคร”

ผ้ายกเมืองนคร ถือเป็นศิลปหัตถกรรมอันล้ำค่าของชาวนครศรีธรรมราช นอกจากจะเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของคนในท้องถิ่นแล้ว ยังแสดงถึงวิถีชีวิตในมุมอื่นๆ ของแต่ละท้องถิ่นได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ได้แก่ ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี สังคม ศิลปะ รวมทั้งอาชีพ ศิลปหัตถกรรมแขนงนี้จึงควรค่าแก่การศึกษา อนุรักษ์ และพัฒนาเป็นอย่างยิ่ง

Continue Readingผ้ายกเมืองนคร : มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรมอันลำ้ค่าของ “ชาวนคร”

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช วิถีการทำนา การทำนาดำ เป็นการปลูกข้าว เป็นหนึ่งสองวิธีของการทำงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Continue Readingการทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

       เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์  เป็นประเพณีการทำบุญด้วยเหนียวหลาม หรือข้าวหลามของชาวอำเภอท่าศาลา  ในเดือน 3 วันมาฆบูชา ชองทุกปี  เมื่อได้ข้าวหลาม หรือ “เหนียวหลาม” แล้วนอกจากแบ่งปันให้เพื่อนบ้านแล้ว ชาวบ้านจะนำมาเก็บไว้ในโบสถ์หรือ  “ใส่ข้าวโบสถ์” เพื่อถวายพระสงฆ์ เพื่อให้นำเหนียวหลามไว้ฉันได้นานหลายวัน  และเชื่อว่า ประเพณี หลามเหนียว…

Continue Readingเดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

จักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม

จักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม จักสาน หรือเครื่องจักสานมีมานาน มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และจนถึงปัจจุบันก็ยังใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน ภูมิปัญญาการใช้วัสดุจากธรรมชาติ มาถัก ทอ สาน เป็นภาชนะ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ลักษณะ รูปร่าง ขึ้นรูป ต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน ของแต่ละท้องถิ่น…

Continue Readingจักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม

มังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของนครศรีธรรมราช

มังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของเมืองนครศรีธรรมราช ทำความรู้จักมังคุดคัดกัน มังคุดคัด ผลไม้ที่มีสีขาวจากเนื้อในของผลไม้ที่หาได้ง่ายในเมืองนครฯ คือมังคุด แต่ที่ไม่เหมือใครในประเทศนี้และถือเป็นเอกลักษณ์หนึ่งเดียวของเมืองนครศรีธรรมราช  คือสิ่งที่เรียกว่า "มังคุดคัด"  มาจาก มังคุด+คัด (คำว่า "คัด" ภาษาใต้หมายถึงการปอกเปลือกออก) คำนี้จึงหมายถึง การนำมังคุดแก่ที่มีการปอกเปลือกออกเรียบร้อยแล้ว การคัดเลือกมังคุดเพื่อนำมาคัด  มังคุดที่จะนำมาคัด จะเลือกมังคุดแก่  ผิวสีเขียว  ๆ …

Continue Readingมังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของนครศรีธรรมราช

End of content

No more pages to load