Tricks ในการคัดเลือกวารสารนานาชาติเพื่อการตีพิมพ์ผลงานวิจัย

Tricks ในการคัดเลือกวารสารนานาชาติเพื่อการตีพิมพ์ผลงานวิจัย

สำหรับนักวิจัยน้องใหม่  หลาย ๆ ท่าน ที่คิดไม่ออกว่าเราจะคัดเลือกวารสารนานาชาติเพื่อการตีพิมพ์ผลงานวิจัยอย่างไรดี วันนี้ ระเบียงบรรณปันสาระ มี Tricks ในการคัดเลือกวารสารมาฝาก ดังนี้ต่อไปนี้ : ทบทวนการใช้วารสารทีใช้ในการอ้างอิง (Reference) พิจารณาขอบเขตเนื้อหาของวารสาร การประเมินคุณภาพวารสารจาก Impact และ Ranking   สถานะการมีอยู่ของวารสาร (Indexing) ในฐานข้อมูลประเภท Citation Databases  ข้อมูลเกี่ยวกับวารสาร   Acceptance / Rejection Rate  สถานะวารสารประเภท…
รหัส DOI คืออะไรและมีประโยชน์ต่อนักวิจัยอย่างไรบ้าง

รหัส DOI คืออะไรและมีประโยชน์ต่อนักวิจัยอย่างไรบ้าง

ความหมายของ รหัส DOI DOI รหัสประจำเอกสาร หรือ วัสดุดิจิทัล เป็นเลขมาตรฐานสากลประจำไฟล์ดิจิทัลที่มีการเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งเอกสารที่เผย ได้แก่ บทความ วารสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ ทรัพย์สินทางปัญญา ฯลฯ  ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับนักวิจัย ในการค้นหา  การเข้าถึง และเชื่อมโยงการเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัล รหัส DOI   หมายถึง ชื่อ หรือ รหัสประจำเอกสาร หรือ วัสดุดิจิทัล มีลักษณะคล้ายกับเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ…
OA

แหล่งสารสนเทศประเภท Open Access เข้าใช้งานได้ฟรี

Open Access หรือเรียกกันสั้น ๆ ว่า OA คือสารสนเทศอันเป็นผลงานวิชาการในรูปแบบต่าง ๆ ทั้ง บทความวารสาร รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม ผู้ใช้สามารถสืบค้นและใช้งานได้ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  ระเบียงบรรณปันสาระมีแหล่งสารสนเทศประเภท Open Access ทั้งที่เป็น E-Book และ E-Journal  สามารถเข้าใช้งานได้ฟรี ดังนี้ DOAB : Directory of Open Access Books…
Turnitin instructor's tips

AI Writing Detection : ตรวจจับการเขียนด้วย AI

รายงานการตรวจระบุว่าข้อความส่วนใดบ้างที่สร้างขึ้นโดย AI และประโยคเหล่านั้นจะถูกเน้นด้วยสีน้ำเงินให้ทราบว่าส่วนใดบ้างที่อาจจะเขียนโดย AI มีเฉพาะ Instructor เท่านั้นที่จะเห็นรายงานผลการตรวจ AI Writing
turnitin

ลบต้นฉบับออกจากคลัง Turnitin

ปัญหา self plagiarism เกิดจากการตั้งค่าเก็บเป็นต้นฉบับ การลบชิ้นงานออกจากคลังต้นฉบับของโปรแกรม Turnitin สามารถลบได้โดยผ่านชิ้นงานที่ส่งตรวจในห้องของ Instructor
PDCA การจองห้องฉายหนัง Mini theater

PDCA การจองห้องฉายหนัง Mini theater

(P=Plan วางแผน) ด้วยศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาไม่ได้รวมห้องจัดฉายภาพยนตร์ Mini theater 72 ที่นั่ง ในพื้นที่บริการศูนย์บรรรณสารและสื่อการศึกษา ชั้น 1 ให้จองห้องประชุมและการใช้งานผ่านระบบ Online Ebooking ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ดังเช่น ห้องประชุมทางไกลระเบียงบรรณ 1 ห้องประชุมระเบียงบรรณ 2-3 ในพื้นที่เดียวกัน เนื่องจากจำเป็นต้องกลั่นกรองการใช้งานตามนโยบายของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา บริหารจัดการใช้งานเฉพาะหน่วยงาน ดังเช่น ห้องประชุมระเบียงบรรณ 4 สงวนสิทธิ์รองรับภารกิจของหน่วยงาน จัดกิจกรรม ประชุม สัมนา ต้อนรับคณะเยี่ยมชม…
มุมลึกลับในศูนย์บรรณสารฯ

มุมลึกลับในศูนย์บรรณฯ

อาคารบรรณสารและสื่อการศึกษา ที่ใครๆ เรียกติดปากว่า "ศูนย์บรรณฯ"เริ่มเปิดใช้เป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2541 โดยย้ายมาจากอาคารวิจัย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (คนรุ่นเก่าเรียกว่า D4) เป็นหนึ่งในอาคารที่มีพื้นที่การใช้สอยมากอาคารหนึ่งในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ศูนย์บรรณสารฯ เป็นตึก 3 ชั้น ซึ่งแน่นอนว่าจะมีการจัดสรรพื้นที่ แบ่งซอยห้องเล็กห้องน้อยออกไปทุกชั้น ผู้ใช้บริการบางท่านก็ไม่เคยใช้งาน ไม่เคยใช้พื้นที่ จนนักศึกษาบางคนเรียกว่ามุมลึกลับ เรามาดูกันว่าคำว่ามุมลึกลับในที่นี้ จริงๆ แล้วลึกลับเพราะมีเรื่องสยองขวัญซ่อนอยู่? หรือลึกลับเพราะผู้ใช้บริการเข้าไม่ถึง ไม่รู้จักกันแน่... งั้นเรามาทำความรู้จักมุมลึกลับ เริ่มไปจากชั้น 1 ห้องถัดไปจากเคาน์เตอร์บริการ ชั้น…
Foundation stone

ตามหาพิกัดจุดวางแผ่นศิลาฤกษ์

ตามหาพิกัดแผ่นศิลาฤกษ์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พิธีวางศิลาฤกษ์ คือ พิธีวางแผ่นศิลาจารึกเวลา วัน เดือน ปี อันเป็นมงคลที่เรียกว่า ดวงฤกษ์ แห่งการก่อสร้างไว้ ณ บริเวณสถานที่ก่อสร้างอาคารถาวรต่าง ๆ วัตถุประสงค์เพื่อเป็นสิริมงคลต่อการอยู่อาศัย มีความเจริญรุ่งเรือง มั่งคั่ง มั่นคง และอยู่เย็นเป็นสุขตลอดไปตามประเพณีโบราณ เพื่อให้เจ้าภาพและผู้รับจ้างก่อสร้างได้ร่วมประกอบพิธีศาสนาที่ตนเคารพนับถืออันจะเป็นการส่งเสริมความสามัคคีและเพิ่มพูนบุญกุศลต่อไป มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จัดพิธีวางศิลาฤกษ์การก่อสร้างมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เมื่อวันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2539 เวลา 15.29-15.49 น. โดยสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ…
โครงการขนมล่อมด

โครงการขนมล่อมด

ในช่วงก่อนสอบและระหว่างสอบปลายภาค ศูนย์บรรณสารฯ จะจัดกิจกรรมพิเศษกิจกรรมหนึ่งเรียกว่า “โครงการขนมล่อมด” ซึ่งเริ่มต้นจัดเมื่อปี พ.ศ. 2561 มีแนวคิดจากนักศึกษาต้องอ่านหนังสือเตรียมสอบต่อเนื่องเป็นเวลานาน และบรรยากาศการอ่านหนังสือที่หอพักไม่เอื้อต่อการใช้สมาธิ เช่น มีเสียงรบกวน และกลางคืนหาอาหารทานยาก ต้องใช้เวลาในการเดินทางออกจากห้องสมุดไปศูนย์อาหาร (ขณะนั้นยังไม่มีบริการส่งอาหาร และยังไม่มีร้านอาหารว่างเปิดบริการที่อาคารบรรณสารและสื่อการศึกษา) ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านหนังสือช่วงสอบปลายภาค โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากผู้บริหาร คณาจารย์ และหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยร่วมสมทบทุนให้ศูนย์บรรณสารฯ จัดหาอาหารว่างและเครื่องดื่มร้อน-เย็น ให้นักศึกษาที่มาใช้บริการศูนย์บรรณสารฯ ช่วงขยายเวลา 17.00-24.00 น. มาเป็นเวลาหลายปี และนักศึกษาพึงพอใจในกิจกรรมนี้มาก และสถิติการเข้าใช้ห้องสมุดในช่วงเวลาดังกล่าวได้เพิ่มมากขึ้นด้วย ซึ่งต่อมาได้งดกิจกรรมพิเศษนี้ไปเนื่องจากมาตรการโควิด-19 ในภาคการศึกษาที่…
One stop service

30 ปี…เคาน์เตอร์บริการกับการเปลี่ยนแปลง รวมไปถึงพื้นที่ต่างๆ ภายในศูนย์บรรณสารฯ

👉 👉 กว่าทศวรรษเคาน์เตอร์บริการศูนย์บรรณสารฯ ที่ได้ปรับเปลี่ยนตลอด 🎯 เพื่อร่วมโอกาสครบรอบ 30 ปีสถาปนามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มาดูกันสิว่า ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ซึ่งเป็นหัวใจของมหาวิทยาลัยมีพัฒนาการเคียงคู่กับการเติบโตของมหาวิทยาลัยแห่งนี้อย่างไรบ้าง?อันดับแรกแอดมินนำเรื่องการเปลี่ยนแปลงของเคาน์เตอร์บริการหลักของศูนย์บรรณสารฯ เสนอเป็นเรื่องแรก เพราะเป็นสถานีแรกที่ทุกคนได้สัมผัสตั้งแต่ปีแรกที่เข้าเรียน ลูกเพจทันใช้บริการเคาน์เตอร์ยุคไหนกันบ้าง?🎯
กว่าจะมาเป็น Virtual ID

กว่าจะมาเป็นระบบ Virtual ID

กว่าจะมาเป็นระบบ Virtual ID การยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา สมาชิกทุกประเภทจะต้องยื่นบัตรแสดงตัวตนแก่เจ้าหน้าที่เพื่อยืนยันการเป็นสมาชิกสถานภาพปัจจุบัน จึงจะสามารถยืมหนังสือ ตำราเรียนต่างๆ ได้นักศึกษาทราบไหมว่า ก่อนจะมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จะพัฒนามาใช้ระบบ Smart Library ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของรุ่นพี่เป็นอย่างไร?เมื่อพ้นยุคการแสดงตัวตนด้วยบัตรนักศึกษาเมื่อยืมคืนหนังสือกับเจ้าหน้าที่ประจำเคาน์เตอร์ยืมคืนแล้ว ได้ปรับเปลี่ยนเป็นการแสดงตัวตนด้วยการสแกนลายนิ้วมือ เมื่อเปิดเทอมปีการศึกษาใหม่ นักศึกษาใหม่ต้องมาลงทะเบียนบันทึกลายนิ้วมือและถ่ายภาพลงในฐานข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ บันทึกการเข้า ออกศูนย์บรรณสารฯ ด้วยการ Scan ลายนิ้วมือ ดังในภาพเก่าที่นำมาแสดงให้เห็น ซึ่งใช้เวลาในการบันทึกข้อมูลสมาชิกใหม่ เป็นอันมาก ดังนั้นมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จึงได้พัฒนาระบบ Smart card จากระบบอ่านข้อมูลจากแถบ Barcode มาเป็นระบบฝังชิพข้อมูล และเป็นระบบ RFID…
WU Library ไม่ใช่ WU Book Center

WU Library ไม่ใช่ WU Book Center

ทุกปีจะพบว่านักศึกษาใหม่จะหลงไป WU Book Center เมื่อต้องการจะไปห้องสมุดมหาวิทยาลัย เพราะชื่อหน่วยงานมีคำว่า “Book” อยู่ ซึ่ง WU Book Center เป็นชื่อร้านหนังสือ จำหน่ายเครื่องแบบนักศึกษา หนังสือตำราเรียน เครื่องเขียน และหนังสือทั่วไป รวมทั้งของใช้จำเป็นในการเรียนมหาวิทยาลัย นับเป็นเรื่องไม่น่าแปลกใจ เพราะชื่อห้องสมุดมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ไม่ได้มีชื่อขึ้นต้นว่าห้องสมุดเหมือนห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มีชื่อเป็นทางการว่า “ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา” หรือ The Center for Library resources and Education…
แนะนำการสืบค้นบทความและวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฟรีจาก ThaiJO

แนะนำการสืบค้นบทความและวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฟรีจาก ThaiJO

Thai Journals Online (ThaiJO) เป็นระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย เป็นแหล่งรวมวารสารวิชาการที่ผลิตในประเทศไทยทุกสาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ThaiJO ได้รับการสนับสนุนจาก  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ดรรชนีการอ้างดรรชนีวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre : TCI) วารสารวิชาการไทยที่ปรากฎใน ThaiJO จะพัฒนาอยู่บนระบบ OJS (Online Journal System) เดียวกันซึ่งพัฒนาโดย Public…
รายงานผลการตรวจการคัดลอก (Similarity Report)

รายงานผลการตรวจการคัดลอก (Similarity Report)

รายงานผลการตรวจการคัดลอกของต้นฉบับที่ส่งตรวจกับฐานข้อมูลโปรแกรม Turnitin พร้อมชี้แหล่งข้อมูลที่ซ้ำ แสดงรายการซ้ำแยกไฮไลท์เป็นแถบสีที่แตกต่างกัน เรียงลำดับตามเปอร์เซ็นต์ความซ้ำจากมากไปหาน้อย
Turnitin instructor's tips

Add Class & Add Assignment

• การตั้งค่าทั้งหมดเสร็จเรียบร้อยก่อนส่งงาน • การตั้งค่า กำหนดค่าทั้งหมด ตรงตามความต้องการของ Instructor • นักศึกษาส่งงานได้ • สามารถตรวจงานนักศึกษา ให้คะแนน แก้ไขแสดงความคิดเห็นผ่านรายงานผลการตรวจได้ • สามารถรู้ตัวเลขความซ้ำผลงานของนักศึกษาได้ รู้ว่ามีการคัดลอกมาหรือไม่ มากน้อยเพียงใด
Turnitin instructor's tips

Quick Submit & Submit Paper

• ส่งงานเข้าตรวจได้โดยไม่ต้องสร้าง Class & Assignment • เหมาะกับการตรวจชิ้นงานของตัวเอง • สามารถส่งตรวจชิ้นงานทั้งตัวเองและของคนอื่น ๆ ได้ • จัดเก็บรายงานผลการตรวจ จนกว่าจะมีการลบ