ทุ่นกักขยะลอยน้ำลดปัญหาขยะในทะเลได้อย่างไร

ทุ่นกักขยะลอยน้ำลดปัญหาขยะในทะเลได้อย่างไร

“ทุ่นกักเก็บขยะลอยน้ำ ช่วยกักเก็บขยะลอยน้ำในทะเล โดยขยะจะไม่หลุดลอยออกนอกทุ่นตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำ รองรับขยะได้สูงสุดถึง 700 กิโลกรัม” การลดปริมาณขยะก่อนออกสู่ท้องทะเล ในปัจจุบัน ทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับปริมาณขยะที่มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และ ขยะเหล่านั้นก็ยังไหลลงทะเลอย่างต่อเนื่อง  หลาย ๆ หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้หันมาให้ความสนใจในการสร้างทุ่นกักขยะ  ได้แก่ “ต้นแบบทุ่นกักขยะลอยน้ำ” (SCG – DMCR Litter Trap) ซึ่งเป็นนวัตกรรม เพื่อลดปัญหาขยะในทะเล ซึ่ง เอสซีจีร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช) ได้พัฒนา “ต้นแบบทุ่นกักขยะลอยน้ำ”…
WULibrary Challenge การจัดการขยะด้วยหลัก 8R

WULibrary Challenge การจัดการขยะด้วยหลัก 8R

การจัดการขยะที่ถูกวิธีดีต่อเราและดีต่อโลก คิดก่อนซื้อ ซื้อให้น้อย ใช้อย่างพอดี ปฏิเสธสิ่งไม่จำเป็น 8R เป็นวิธีการที่จะช่วย ให้โลกของเราน่าอยู่ น่าอาศัย และ ช่วยลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก  หากเราสามารถนำหลัก 8R มาใช้ในการจัดการขยะในชีวิตโดยการลดการบริโภคตั้งแต่ต้นทาง การใช้ข้าวของเครื่องใช้ให้คุ้มค่ามากที่สุด ไม่บริโภคเกินจำเป็น ลองมาทำความรู้จักกับหลักการจัดการขยะซึ่งประกอบด้วย  Rethink, Refuse, Reuse, Reduce, Repair, Regift, Recycle, Recover  WULibrary Challenge การจัดการขยะด้วยหลัก 8R Rethink…
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety)

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety)

"อาชีวอนามัยและความปลอดภัย" หมายถึง ศาสตร์และศิลป์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ ซึ่งรวมถึงการป้องกันอันตรายและส่งเสริมสุขภาพอนามัย เพื่อคงไว้ซึ่งสภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ ตลอดจนสถานะความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ประกอบอาชีพทั้งมวล อาชีวะ (Occupational) หมายถึง อาชีพ การเลี้ยงชีพ การทำมาหากินอนามัย (Health) หมายถึง ความไม่มีโรค สภาวะสมบูรณ์ดีทั้งร่างกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และจิตวิญญาณความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาวะที่ปราศจากภัยคุกคาม ไม่มีอันตราย หรือความเสี่ยงใดๆ การจำแนกสิ่งคุกคามและผลกระทบทางด้านสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ทำงาน"สิ่งคุกคาม (hazard)" หมายถึง สิ่งใดๆ หรือสภาวการณ์ใดๆ ก็ตาม…
ฉลากที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ฉลากที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ฉลากสิ่งแวดล้อม เป็นกลไกการสื่อสารและบ่งบอกความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ให้แก่ผู้บริโภคทราบ
บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ธุรกิจที่ให้ความสำคัญใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม โดยการเลือกใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ำ และมีการจัดการขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ รวมทั้งมีการจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว เลือกใช้สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
วัสดุสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมศูนย์บรรณสารฯ

วัสดุสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมศูนย์บรรณสารฯ

วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือวัสดุสีเขียว คือ วัสดุหรือสินค้าที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าวัสดุที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน โดยพิจารณาตลอดวัฏจักรชีวิตของวัสดุหรือสินค้านั้น
ECO LABEL : ฉลากรักษ์โลก

ECO LABEL : ฉลากรักษ์โลก

“ฉลากสิ่งแวดล้อม” บอกความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ให้ผู้บริโภคทราบ
7R ลดขยะได้ง่าย ๆ เริ่มได้ที่ตัวเรา

7R ลดขยะได้ง่าย ๆ เริ่มได้ที่ตัวเรา

มาสร้างโลกของเราให้น่าอยู่ น่าอาศัย  ช่วยกันลดขยะให้เป็นศูนย์ หรือ สร้างขยะให้น้อยที่สุดเท่าที่จำเป็นด้วยหลัก 7R Reduce  Reuse  Recycle  Refuse Refill Repair และ Return  เมื่อเราเข้าใจอย่างถ่องแท้และยึดหลักการจัดการขยะแบบ 7R  ได้แล้ว อย่าลืมส่งต่อความรู้และหลักปฏิบัติให้กับสมาชิกในครอบครัว เพื่อนร่วมงาน และ เพื่อนร่วมโลก เพื่อสร้างสังคม ที่ปลอดขยะและสร้างโลกที่น่าอยู่ น่าอาศัย  ช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมในโลกของเราให้คงอยู่แบบยั่งยืนตลอดไป 7R ลดขยะได้ง่าย ๆ เริ่มได้ที่ตัวเรา “7R…
พลังงานทดแทนเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

พลังงานทดแทนเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่นำมาใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังานไฟฟ้า สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใช้แล้วหมดไป หรือเรียกว่า พลังงานสิ้นเปลือง ได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ น้ำมัน เป็นต้น และพลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้ว สามารถหมุนเวียนมาใช้ได้อีกและไม่หมดไป เรียกว่า พลังงานหมุนเวียน ได้แก่ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล น้ำ และไฮโดรเจน เป็นต้น เป็นพลังงานสะอาด ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ต่อไปจะมาดูกันว่าพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดที่ไม่เป็นปัญหากับสิ่งแวดล้อมที่กล่าวมาข้างต้นมีอะไรกันบ้างตามไปดูกันครับ…
เทคนิคการประหยัดพลังงานในสำนักงาน

เทคนิคการประหยัดพลังงานในสำนักงาน

โดยดำเนินการใน 3 ส่วนที่สำคัญ 1) การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่สามารถช่วยประหยัดพลังงานมากขึ้น 2) การรณรงค์ปลูกจิตสำนึกการประหยัดพลังงานภายในสำนักงาน 3) การประยุกต์ใช้พลังงานทดแทน โดยการติดตั้งแผงวงจรโซล่าเซลล์ ปัจจุบันต้นทุนค่าใช้จ่ายในเรื่องของการใช้พลังงานไฟฟ้านับเป็นสิ่งที่ทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต้องดำเนินการควบคุมเพื่อลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ เพราะนับวันความต้องการใช้พลังงานยิ่งเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากอุปกรณ์สำนักงานส่วนใหญ่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเกือบทั้งหมด ยิ่งหากเป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้วยแล้วค่าใช้จ่ายส่วนนี้นับว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงเป็นอันดับต้น ๆ ของงบประมาณทั้งหมดภายในหน่วยงาน ซึ่งค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้สูงและสิ้นเปลืองเป็นอันดับต้น ๆ ของอุปกรณ์ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องปรับอากาศ ประมาณ 50-70 % ของอุปกรณ์ไฟฟ้าทั้งหมดภายในสำนักงาน ซึ่งในบทความนี้จะนำเสนอเทคนิคการลดค่าใช้จ่ายในส่วนของพลังงานไฟฟ้าภายในสำนักงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์การดำเนินงาน ตั้งแต่เริ่มค่าใช้จัดทำเสนอโครงการส่งเสริมการประหยัดพลังงานภายในอาคาร จนถึงกระบวนการประเมินและสรุปผล ซึ่งจะเรียงเป็นข้อตามลำดับขั้นตอนตามหลัก PDCA ดังภาพ ซึ่งในแต่ขั้นตอนของการปฏบัติงานจะมีความสำคัญและยุ่งยากแตกต่างกันออกไป…