คลองปากพยิง
คลองปากพยิง

คลองปากพยิง : จากปากน้ำถึงต้นน้ำ

คลองปากพยิง กั้นระหว่างอำเภอท่าศาลา-อำเภอเมือง นครศรีธรรมราช ต้นน้ำเกิดจากหนานระฟ้าในเขตเทือกเขาหลวง ไหลผ่านน้ำตกอ้ายเขียว อำเภอพรหมคีรี อำเภอท่าศาลาและอำเภอเมือง นครศรีธรรมราช ออกสูทะเลที่ปากน้ำปากพยิง ระหว่างทางที่ไหลผ่านพบแหล่งโบราณสถานบ้านพรหมโลก แหล่งโบราณคดีบ้านโมคลาน

Continue Readingคลองปากพยิง : จากปากน้ำถึงต้นน้ำ

ตามรอยประวัติ พ่อท่านแดง จันทสโร เกจิอาจารย์แห่งท่าศาลา

พ่อท่านแดง

Continue Readingตามรอยประวัติ พ่อท่านแดง จันทสโร เกจิอาจารย์แห่งท่าศาลา
เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง
นางจำเป็น รักษ์เมือง หรือป้าเอียด

ปั้นดินสู่ดาว : เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง

เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง ปั้นจากดินธรรมดา สู่เครื่องปั้นดินเผา ที่มีลวดลายสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ของพื้นถื่นท่าศาลา

Continue Readingปั้นดินสู่ดาว : เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง

บ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

บ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

Continue Readingบ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

ทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย

ทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย ประวัติทวดกลาย ทวดกลาย  นักรบบรรพชนและจอมขมังเวท ผู้ปกปักรักษาสะพานข้ามคลองกลาย อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช แทนความรู้สึกเคารพและแรงศรัทธา ที่มีต่อ ”ทวดกลาย” หรือ โต๊ะกลาย รูปปั้นชาย นั่งขัดสมาส มือทั้งสองข้างวางไว้บนเข่า ห่มสไบเฉียงและโพกหัวด้วยผ้าสีขาว ตั้งวางอยู่ในศาลาเชิงสะพานฝั่งตำบลสระแก้ว…

Continue Readingทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช วิถีการทำนา การทำนาดำ เป็นการปลูกข้าว เป็นหนึ่งสองวิธีของการทำงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Continue Readingการทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

       เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์  เป็นประเพณีการทำบุญด้วยเหนียวหลาม หรือข้าวหลามของชาวอำเภอท่าศาลา  ในเดือน 3 วันมาฆบูชา ชองทุกปี  เมื่อได้ข้าวหลาม หรือ “เหนียวหลาม” แล้วนอกจากแบ่งปันให้เพื่อนบ้านแล้ว ชาวบ้านจะนำมาเก็บไว้ในโบสถ์หรือ  “ใส่ข้าวโบสถ์” เพื่อถวายพระสงฆ์ เพื่อให้นำเหนียวหลามไว้ฉันได้นานหลายวัน  และเชื่อว่า ประเพณี หลามเหนียว…

Continue Readingเดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

“โบราณสถานตุมปัง” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

โบราณสถานตุมปัง สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โบราณสถานตุมปัง  ตั้งอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช ได้ขึ้นประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 118 ตอนพิเศษ 33ง เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2544 มีพื้นที่ 80 ไร่ 3…

Continue Reading“โบราณสถานตุมปัง” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

End of content

No more pages to load