วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร : มรดกแห่งความศรัทธาอันล้ำค่าของนครศรีธรรมราช
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือวัดพระธาตุ เป็นโบราณสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน ถือเป็นมรดกแห่งความศรัทธาอันล้ำค่าของเมืองนคร
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือวัดพระธาตุ เป็นโบราณสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน ถือเป็นมรดกแห่งความศรัทธาอันล้ำค่าของเมืองนคร
หอพระสูง หรือพระวิหารสูง เป็นโบราณสถานสำคัญแห่งหนึ่งในเมืองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองโบราณนครศรีธรรมราชด้านทิศเหนือ บริเวณสนามหน้าเมือง ใกล้ศาลหลักเมือง ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช หอพระสูง เรียกชื่อตามลักษณะของการก่อสร้างของพระวิหาร ซึ่งสร้างบนเนินดิน ซึ่งขุดจากคลองควน สูงกว่าพื้นปกติถึง 2.10 เมตร ด้านหน้าทางเข้าเป็นบันไดทางขึ้น เลียนแบบตามคติจีนลัทธิเต๋า เป็นพุทธสถานผสมผสานกับเทวสถานหอกราบไหว้ฟ้าดิน ของจักรพรรดิหรือฮ่องเต้หรือกษัตริย์
มัสยิด ภาษาอาหรับ หมายถึง สถานที่ละหมาด ประกอบศาสนกิจและพิธีกรรมของมุสลิม เป็นศูนย์รวมของมุสลิมในชุมชน สุเหร่า ภาษามลายู เป็นสถานที่ละหมาดประกอบศาสนกิจ และพิธีกรรมทางศาสนาเช่นกัน ภาคใต้ใช้ภาษามลายู ก็จะได้ยินและคุ้นเคยกับคำว่าสุเหร่า ทั้งมัสยิดและสุเหร่าเป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนกิจของชาวมุสลิมทั่วโลก มีบทบาทต่อโลกมุสลิมเหมือนกันทุกประการ
"เข้าวัดแจ้ง ดูเก๋งปูนปั้นซุ้มประตู เข้าวัดประดู่ ดูลายไม้แกะจากเมืองจีน” วัดประดู่พัฒนาราม เดิมเรียกว่า "วัดประดู่" หรือ วัดโด เป็นวัดที่สำคัญวัดหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมราช มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับกษัตริย์ไทย และเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชในอดีต
วัดแจ้งวรวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เป็นวัดโบราณสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย ประวัติทวดกลาย ทวดกลาย นักรบบรรพชนและจอมขมังเวท ผู้ปกปักรักษาสะพานข้ามคลองกลาย อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช แทนความรู้สึกเคารพและแรงศรัทธา ที่มีต่อ ”ทวดกลาย” หรือ โต๊ะกลาย รูปปั้นชาย นั่งขัดสมาส มือทั้งสองข้างวางไว้บนเข่า ห่มสไบเฉียงและโพกหัวด้วยผ้าสีขาว ตั้งวางอยู่ในศาลาเชิงสะพานฝั่งตำบลสระแก้ว…
โบราณสถานตุมปัง ตั้งอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช ได้ขึ้นประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 118 ตอนพิเศษ 33ง เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2544 มีพื้นที่ 80 ไร่ 3 งาน 80…