แม่น้ำปากพนัง : สายน้ำแห่งวิถีชีวิตและภูมิปัญญา

แม่น้ำปากพนัง ไหลผ่านปากพนังทั้งเป็นฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก เปรียบเสมือนอู่ข้าวอู่น้ำของเมืองนครศรีธรรมราช และยังมีความสำคัญทางด้านพาณิชกรรม ซึ่งเป็นเส้นทางในการลำเลียงสินค้าออกสู่ทะเลเพื่อติดต่อกับเมืองอื่น ๆ

Continue Readingแม่น้ำปากพนัง : สายน้ำแห่งวิถีชีวิตและภูมิปัญญา

ปล่องโรงสีไฟโบราณ : สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้ำปากพนัง

ปล่องโรงสีไฟโบราณ สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และยังมีการเปรียบเป็นกระถางต้นไม้ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ

Continue Readingปล่องโรงสีไฟโบราณ : สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มน้ำปากพนัง

ผลิตภัณฑ์น้ำตาลจาก ตำบลขนาบนาก แห่งลุ่มน้ำปากพนัง

ป่าจาก” ซึ่งป่าจากนั้นมีความผูกพันกับวิถีชีวิตของชาวบ้านลุ่มน้ำปากพนังและได้ใช้ประโยชน์จากป่าจากมากมายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเพราะส่วนต่าง ๆ ของต้นจากนำมาใช้ประโยชน์และนำมาแปรรูปก่อให้เกิดรายได้

Continue Readingผลิตภัณฑ์น้ำตาลจาก ตำบลขนาบนาก แห่งลุ่มน้ำปากพนัง
ปั้นดินสู่ดาว : เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง
นางจำเป็น รักษ์เมือง หรือป้าเอียด

ปั้นดินสู่ดาว : เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง

เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง ปั้นจากดินธรรมดา สู่เครื่องปั้นดินเผา ที่มีลวดลายสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ของพื้นถื่นท่าศาลา

Continue Readingปั้นดินสู่ดาว : เครื่องปั้นดินเผาบ้านมะยิง

บ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

บ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

Continue Readingบ้านในถุ้ง : ชุมชนต้นแบบการเรียนรู้ประมงชายฝั่งของอำเภอท่าศาลา

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช วิถีการทำนา การทำนาดำ เป็นการปลูกข้าว เป็นหนึ่งสองวิธีของการทำงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Continue Readingการทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

       เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์  เป็นประเพณีการทำบุญด้วยเหนียวหลาม หรือข้าวหลามของชาวอำเภอท่าศาลา  ในเดือน 3 วันมาฆบูชา ชองทุกปี  เมื่อได้ข้าวหลาม หรือ “เหนียวหลาม” แล้วนอกจากแบ่งปันให้เพื่อนบ้านแล้ว ชาวบ้านจะนำมาเก็บไว้ในโบสถ์หรือ  “ใส่ข้าวโบสถ์” เพื่อถวายพระสงฆ์ เพื่อให้นำเหนียวหลามไว้ฉันได้นานหลายวัน  และเชื่อว่า ประเพณี หลามเหนียว…

Continue Readingเดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

จักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม

จักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม จักสาน หรือเครื่องจักสานมีมานาน มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และจนถึงปัจจุบันก็ยังใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน ภูมิปัญญาการใช้วัสดุจากธรรมชาติ มาถัก ทอ สาน เป็นภาชนะ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ลักษณะ รูปร่าง ขึ้นรูป ต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน ของแต่ละท้องถิ่น…

Continue Readingจักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม

มังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของนครศรีธรรมราช

มังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของเมืองนครศรีธรรมราช ทำความรู้จักมังคุดคัดกัน มังคุดคัด ผลไม้ที่มีสีขาวจากเนื้อในของผลไม้ที่หาได้ง่ายในเมืองนครฯ คือมังคุด แต่ที่ไม่เหมือใครในประเทศนี้และถือเป็นเอกลักษณ์หนึ่งเดียวของเมืองนครศรีธรรมราช  คือสิ่งที่เรียกว่า "มังคุดคัด"  มาจาก มังคุด+คัด (คำว่า "คัด" ภาษาใต้หมายถึงการปอกเปลือกออก) คำนี้จึงหมายถึง การนำมังคุดแก่ที่มีการปอกเปลือกออกเรียบร้อยแล้ว การคัดเลือกมังคุดเพื่อนำมาคัด  มังคุดที่จะนำมาคัด จะเลือกมังคุดแก่  ผิวสีเขียว  ๆ …

Continue Readingมังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของนครศรีธรรมราช

No more posts to load