ตลาดแขก : ชุมชนพหุวัฒนธรรมไร้รอยต่อทางศาสนา

ตลาดแขก ชุมชนพหุวัฒนธรรมที่ไร้รอยต่อทางศาสนา เป็นชุมชนมุสลิมอยู่ติดกัน 3 ชุมชน คือ ชุมชนพะเนียด ชุมชนท่าช้าง และชุมชนตลาดแขก และมีชุมชนหลังวัดพระมหาธาตุ รวมเป็น 4 ชุมชนไร้รอยต่อ ผู้คนในชุมชนอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เป็นชุมชนแห่งความภาคภูมิใจของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช

Continue Readingตลาดแขก : ชุมชนพหุวัฒนธรรมไร้รอยต่อทางศาสนา

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร : มรดกแห่งความศรัทธาอันล้ำค่าของนครศรีธรรมราช

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือวัดพระธาตุ เป็นโบราณสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน ถือเป็นมรดกแห่งความศรัทธาอันล้ำค่าของเมืองนคร

Continue Readingวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร : มรดกแห่งความศรัทธาอันล้ำค่าของนครศรีธรรมราช

หอพระสูง (พระวิหารสูง) : โบราณสถานสำคัญบนถนนราชดำเนิน

หอพระสูง หรือพระวิหารสูง เป็นโบราณสถานสำคัญแห่งหนึ่งในเมืองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองโบราณนครศรีธรรมราชด้านทิศเหนือ บริเวณสนามหน้าเมือง ใกล้ศาลหลักเมือง ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช หอพระสูง เรียกชื่อตามลักษณะของการก่อสร้างของพระวิหาร ซึ่งสร้างบนเนินดิน ซึ่งขุดจากคลองควน สูงกว่าพื้นปกติถึง 2.10 เมตร ด้านหน้าทางเข้าเป็นบันไดทางขึ้น เลียนแบบตามคติจีนลัทธิเต๋า เป็นพุทธสถานผสมผสานกับเทวสถานหอกราบไหว้ฟ้าดิน ของจักรพรรดิหรือฮ่องเต้หรือกษัตริย์

Continue Readingหอพระสูง (พระวิหารสูง) : โบราณสถานสำคัญบนถนนราชดำเนิน

ทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย

ทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย ประวัติทวดกลาย ทวดกลาย  นักรบบรรพชนและจอมขมังเวท ผู้ปกปักรักษาสะพานข้ามคลองกลาย อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช แทนความรู้สึกเคารพและแรงศรัทธา ที่มีต่อ ”ทวดกลาย” หรือ โต๊ะกลาย รูปปั้นชาย นั่งขัดสมาส มือทั้งสองข้างวางไว้บนเข่า ห่มสไบเฉียงและโพกหัวด้วยผ้าสีขาว ตั้งวางอยู่ในศาลาเชิงสะพานฝั่งตำบลสระแก้ว…

Continue Readingทวดกลาย : จากสายเลือดนักรบบรรพชนผู้กล้าหาญ สู่เทวดาอารักษ์คลองกลาย

“โบราณสถานตุมปัง” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

โบราณสถานตุมปัง สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โบราณสถานตุมปัง  ตั้งอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช ได้ขึ้นประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 118 ตอนพิเศษ 33ง เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2544 มีพื้นที่ 80 ไร่ 3…

Continue Reading“โบราณสถานตุมปัง” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

End of content

No more pages to load