หอพระพุทธบาทจำลอง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช

ชาวบ้านเชื่อกันว่ารอยพระพุทธบาทจำลองเป็นวัตถุแทนองค์พระพุทธเจ้า การได้กราบไหว้บูชารอยพระพุทธบาทจึงเปรียบเสมือนได้บูชาพระพุทธองค์ ซึ่งจะเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตที่จะดลบันดาลให้ประสบกับความสุขความเจริญตลอดไป ที่ใกล้บันไดทางขึ้นไปพระบาท มีพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ในซุ้มองค์หนึ่ง เรียกว่า “พระบุญมาก” ขนาดหหน้าตักกว้าง 3 ศอก 3 นิ้ว สูง 1 วา 12 นิ้ว เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มากสามารถบันดาลบุตรให้แก่ผู้ที่ไปขอได้

Continue Readingหอพระพุทธบาทจำลอง วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช

พระอุเชนทร์ พระพิฆเนศคู่บารมีของพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์

ความศักดิ์สิทธิ์ของพระอุเชนทร์ พระพิฆเนศสุดศักดิ์สิทธิ์ คู่บารมีของพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ ที่วัดสวนขันนั้นร่ำลือไปทุกสารทิศ หากท่านใดมีบุญได้ไปกราบแล้ว ท่านจะประสบความสุขความเจริญ คิดหวังขอสิ่งใดได้หวัง เพราะท่านเป็นเทพแห่งการประทานพรและการประสบความสำเร็จ ในชีวิตการงาน การเงินครอบครัว โภคทรัพย์ ป้องกันสิ่งชั่วร้ายต่างๆ ซึ่งทุกท่านต้องไม่พลาดที่จะไปสักการะกันได้ที่วัดสวนขัน อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ในทุกวัน

Continue Readingพระอุเชนทร์ พระพิฆเนศคู่บารมีของพ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์

ตาพรานบุญ ตำนาน “บนบานได้ไหว้รับ ที่วัดยางใหญ่”

“พราน” มีตำนานที่กล่าวถึงมากมายตั้งแต่สมัยโบราณไม่ว่าจะเป็นนายพรานในวรรณคดี เรื่องพระสุธน – มโนราห์ ซึ่งเป็นนิทานชาดกพื้นบ้านในยุคสมัยอยุธยา ซึ่งในสมัยก่อนเชื่อกันว่า "พราน" คือผู้ที่มีวิชาอาคมแก่กล้ามาก เพราะเมื่อเข้าไปในป่าที่เต็มไปอาถรรพ์จากภูตผีปีศาจและสิ่งเร้นลับที่มองไม่เห็นหรืออันตรายจากสัตว์ป่าที่ดุร้ายหลากหลายชนิดหากไม่มีของดีหรือวิชาอาคมติดตัวก็จะไม่สามารถมีชีวิตรอดกลับออกจากป่าได้ “พราน” มีตำนานที่กล่าวถึงมากมายตั้งแต่สมัยโบราณไม่ว่าจะเป็นนายพรานในวรรณคดี เรื่องพระสุธน – มโนราห์ ซึ่งเป็นนิทานชาดกพื้นบ้านในยุคสมัยอยุธยา ซึ่งในสมัยก่อนเชื่อกันว่า "พราน" คือผู้ที่มีวิชาอาคมแก่กล้ามาก เพราะเมื่อเข้าไปในป่าที่เต็มไปอาถรรพ์จากภูตผีปีศาจและสิ่งเร้นลับที่มองไม่เห็นหรืออันตรายจากสัตว์ป่าที่ดุร้ายหลากหลายชนิดหากไม่มีของดีหรือวิชาอาคมติดตัวก็จะไม่สามารถมีชีวิตรอดกลับออกจากป่าได้…

Continue Readingตาพรานบุญ ตำนาน “บนบานได้ไหว้รับ ที่วัดยางใหญ่”

ประตูเยาวราช ประตูแรกที่สร้างตั้งแต่ ร.ศ. 128

ประตูเยาวราช เป็นประตูเข้าวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช  ทางด้านหน้านั้นมีอยู่ ๓ ประตู ซึ่งเป็นประตูกลางที่ตรงกับวิหารธรรมศาลา

Continue Readingประตูเยาวราช ประตูแรกที่สร้างตั้งแต่ ร.ศ. 128

พระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช

พระสิหิงค์ซึ่งประดิษฐานภายในหอพระสิหิงค์นั้น เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองนครศรีธรรมราชมาแต่โบราณ ลักษณะเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิเพชร หล่อด้วยสำริด หน้าตักกว้าง 32 เซนติเมตร กางกั้นด้วยฉัตรหักทองขวางทำด้วยโลหะปิดทองฉลุลาย ด้านข้างของพระสิหิงค์มีพระพุทธรูปหุ้มเงินและพระพุทธรูปหุ้มทองปางอุ้มบาตรประทับยืนข้างละ 1 องค์

Continue Readingพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช

วัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร

วัดโมคลาน ตั้งอยู่ที่ ตั้งอยู่ ณ บ้านโมคลาน หมู่ที่ 12 ตำบลโมคลาน อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จากหลักฐานที่พบทั้งเทวสถาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สระน้ำโบราณ (สระน้ำปัจจุบันไม่มีแล้ว) ในศาสนาพราหมณ์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกายในแดนนี้มาก่อน ต่อมาด้วยอิทธิพลของพุทธศาสนาที่ได้เข้ามาแพร่หลายและรุ่งเรืองในแถบนี้ ทำให้ชุมขนโมคลานเปลี่ยนมารับนับถือพุทธศาสนาไปด้วย สันนิษฐานว่าในช่วงแรกน่าจะเป็นพุทธศาสนานิกายเถรวาทหรือลัทธิหินยาน ซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรืองอยู่ในแถบนี้ หลังจากนั้นราวปี พ.ศ.…

Continue Readingวัดโมคลาน : ที่นี่มีอะไร
แห่นางดาน : ประเพณีปีใหม่ของพราหมณ์เพื่อบูชาเทพบริวารทั้ง 4 ด้วยไม้กระดาน 3 แผ่น
นางดาน

แห่นางดาน : ประเพณีปีใหม่ของพราหมณ์เพื่อบูชาเทพบริวารทั้ง 4 ด้วยไม้กระดาน 3 แผ่น

ประเพณีแห่นางดาน เป็นการบูชาเทพบริวารในคติพราหมณ์ด้วยแผ่นไม้กระดาน กว้าง 1 ศอก สูง 4 ศอก 3 แผ่นแทนพระจันทร์และพระอาทิตย์ พระธรณี พระคงคา สมมติแทนเทพทั้ง 4 รับเสด็จพระอิศวรหรือพระศิวะ

Continue Readingแห่นางดาน : ประเพณีปีใหม่ของพราหมณ์เพื่อบูชาเทพบริวารทั้ง 4 ด้วยไม้กระดาน 3 แผ่น

วิหารพระทรงม้า : วิหารแห่งประติมากรรม “มหาภิเนษกรมณ์”

วิหารพระทรงม้า วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร นี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น วิหารพระม้า หรือ วิหารพระทรงม้า หรือ วิหารพระมหาเภิเนษกรม อันเป็นชื่อเรียกทางราชการ แต่ชาวนครนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า วิหารพระม้า ที่เรียกเช่นนี้ก็เพราะว่าภายในวิหารนี้ มีปูนปั้นเป็นภาพเกี่ยวกับเรื่องพระพุทธประวัติตอนพระพุทธองค์ทรงม้าเสด็จออกบรรพชา อยู่ที่ฝาผนังจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า วิหารพระม้า (วิเชียร ณ นคร และคณะ, 2521, น. 450) ดังนั้น จึงถือว่าวิหารพระทรงม้า…

Continue Readingวิหารพระทรงม้า : วิหารแห่งประติมากรรม “มหาภิเนษกรมณ์”

ข้าวยาโค ข้าวแห่งพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนนครศรีธรรมราช

การกวนข้าวยาโค ถือเป็นพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช ที่สืบทอดกันมาครั้งโบราณกาล โดยเริ่มต้นจากความเชื่อและความศรัทธา โดยมีการนำน้ำนมข้าวและผลผลิตทางการเกษตรมาร่วมกันกวนเป็นข้าวยาโค เพื่อถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ ซึ่งถือเป็นการสร้างบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ และผลบุญเหล่านี้จะส่งผลให้ผลผลิตในเรือกสวนไร่นา มีความ เจริญงอกงาม อุดมสมบูรณ์ และข้าวยาโคนี้ ยังถือเป็นข้าวทิพย์ หากใครได้รับประทานจะทำให้เกิดสิริมงคลแก่ชีวิต

Continue Readingข้าวยาโค ข้าวแห่งพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนนครศรีธรรมราช
สวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี
สวดด้าน พระด้าน

สวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

สวดด้าน มีเฉพาะในวันธรรมสวนะ เวลาก่อนเพลก่อนพระสงฆ์จะขึ้นธรรมาสน์เทศน์ประชาชนที่มารอฟังการแสดงธรรมเทศนาอ่านหนังสือร้อยกรองเป็นภาษาถิ่นใต้

Continue Readingสวดด้าน : จากภูมิปัญญาสู่ประเพณี

No more posts to load