เล่มนี้ผู้เขียนได้แนะนำว่าทำอย่างไรเราจะเป็นคนที่มีความสุขกับการใช้ของเพียงน้อยชิ้น คำตอบคือ เพียงแค่...อะไรที่ไม่จำเป็นก็ทิ้งไป เราจะพบกับความสุขได้ไม่ยาก
มินิมัลลิสต์คืออะไร
- คนที่รู้ว่าอะไรสำคัญกับตัวเองจริงๆ
- คนที่ลดปริมาณข้างของลงเพื่อรักษาสิ่งสำคัญเอาไว้
- คนที่รู้ว่าสิ่งไหนสำคัญสำหรับตัวเองจริง ๆ ไม่ใช่คนอยากได้ของต่าง ๆ และเอาแต่สนใจสายตาคนรอบข้าง
- คนที่พยายามลดข้าวของไม่จำเป็นให้น้อยลง
- อะไรที่ไม่จำเป็นให้ลดลง เพื่อที่จะได้ใส่ใจกับข้าวของชิ้นที่สำคัญมากขึ้น เพราะของเหล่านี้จะก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ขึ้นมาได้ในภายหลัง
ทำไมถึงเป็นมินิมัลลิสต์ไม่ได้
ด้วยเหตุผลหลายอย่าง ที่ว่า
- มีทุกอย่างที่อยากได้
- “ความเคยชิน” คือยาพิษ เพราะไปสักพัก จะเปลี่ยนเป็น “ความเบื่อหน่าย”
- ทำไมคนเราถึงอยากได้ชิ้นใหม่อยู่เรื่อย
- ข้าวของแทนตัวเรา
- บอกเล่าตัวตนทีแท้จริงผ่านสิ่งของต่าง ๆ
- สิ่งของทำร้ายตัวเราเอง

มาดูกัน 55 ข้อปฏิบัติในการทิ้งข้าวของ ... คุณจะทำได้มั๊ย
Rule 01 :
“ทิ้ง” ในสิ่งที่คิดเอาเองว่า “ทิ้งข้าวของพวกนั้นไปไม่ได้” แต่จริง ๆ แล้วเรา “ไม่ทิ้่ง” เองแหละ
Rule 02 :
การทิ้ง คือ “ศิลปะ” แต่จริง ๆ เราอาจจะเอาไปขาย ขายต่อ หรือทิ้งไปเลย
Rule 03 :
การทิ้งข้าวของไม่ใช่การ”สูญเสีย” แต่คือการ “ได้รับ”
Rule 04 :
ต้องแน่ใจในเหตุผลที่ไม่สามารถทิ้งได้
Rule 05 :
ไม่ใช่ “ทิ้งไม่ได้” แต่แค่”รู้สีกเกลียด”
Rule 06 :
เมโมรี่ในสมอง พลังงาน และเวลามีขีดจำกัด
Rule 07 :
ให้การทิ้งข้างของคือจุดเริ่มต้นของการบอกลา “ปัจจุบัน”
Rule 08 :
ไม่เสียใจภายหลังกับคำว่า “ทิ้งไปเถอะ”
Rule 09 :
เริ่มจากสิ่งที่เป็น “ขยะ” อย่างเห็นได้ชัด
Rule 10 :
ข้าวของที่มีอยู่หลายชื้นให้ทิ้งไป
Rule 11 :
ทิ้งข้าวของที่ไม่ได้ใช้มานาน 1 ปี
Rule 12 :
ทิ้งข้าวของที่มีไว้เพื่อคนอื่น
Rule 13 :
แยกของที่ “อยากได้” ออกจากของที่ “จำเป็น”
Rule 14 :
ถ่ายรูปของที่ทำใจทิ้งไม่ได้ เก็บเอาไว้
Rule 15 :
ย้อนดูความทรงจำด้วยไฟล์ดิจิทัล
Rule 16 :
ไม่ต้องใส่ใจค่าเช่าบ้านของรูมเมทที่ชื่อว่า “ข้าวของ”
Rule 17 :
ทิ้งความคิดเรื่อง “เก็บกวาด” และ “จัดเก็บ” ออกไป
Rule 18 :
ก่อนอื่นจัดการกับ “แหล่งซ่องสุมสัมภาระ”
Rule 19 :
ทิ้งคำว่า “สักวันหนึ่ง” ที่ไม่มีวันมาถึง
Rule 20 :
ทิ้งคำว่า “สักวันหนึ่ง” ที่ไม่มีวันมาถึง
Rule 21 :
ทิ้งความลุ่มหลงใน “อดีต”
Rule 22 :
ทิ้งข้าวของที่ “ลืมไปแล้ว”
Rule 23 :
เมื่อคิดจะทิ้งข้าวของไปแล้วก็ห้ามเป็นคน “ครีเอทีฟ”
Rule 24 :
ทิ้งความคิดที่ “อยากจะได้กำไรคืน”
Rule 25 :
จัดการกับ “โกดัง”
Rule 26:
รู้สึกถึง “ความเปล่งประกายในหัวใจ”
Rule 27 :
ปล่อยมือจากข้าวของโดยใช้บริการตัวแทนประมูลสินค้า
Rule 28 :
หันมาเผชิญหน้ากับข้าวของอีกครั้งด้วยการประมูล
Rule 29 :
ใช้บริการรับซื้อถึงหน้าบ้าน
Rule 30 :
อย่าคิดถึง “ราคาตอนที่ซื้อมา”
Rule 31 :
“โกดัง” ของคุณคือร้านค้า
Rule 32 :
เมืองที่เราอยู่คือส่วนหนึ่งของบ้าน
Rule 33 :
เก็บข้าวของที่ปลุกเร้าความทรงจำเอาไว้
Rule 34 :
ทิ้งของที่คิดว่าไม่อยากจะซื้อกลับมาอีกแล้ว
Rule 35 :
คุณยังจำของขวัญที่เคยให้คนอื่นได้มั๊ย
Rule 36 :
ลองนึกถึงความรู้สึกของคนที่ตายไปแล้ว
Rule 37 :
ของที่เหลือเอาไว้จากการทิ้งนั่นแหละคือสิ่งที่สำคัญ
Rule 38 :
บอกลาความสัมพันธ์ของลูกโซ่ของข้าวของ
Rule 39 :
ทิ้ง “คอลเลคชั่น” ที่ไม่มีแผนจะสร้างพิพิธภัณฑ์
Rule 40 :
ยืมของที่คนอื่นก็มี
Rule 41 :
ข้าวของชื้นไหนหาเช่าได้ก็ให้เช่าแทน
Rule 42 :
โชว์ของที่ทิ้งและห้องของตัวเองดูผ่านโซเซียลเน็ตเวิร์ค
Rule 43 :
จะต้องทำอย่างไรถ้าเริ่มต้นจากศูนย์
Rule 44 :
ลองทิ้ง “แบบหลอกๆ
Rule 45 :
ทิ้งของที่เกะกะสายตา
Rule 46 :
ซื้อ 1 ชิ้น ต้องทิ้ง 1 ชิ้น
Rule 47 :
รู้จักกับ “Concorde Effect” หรือ “ความเสียดายต้นทุนจม”
Rule 48 :
ยอมรับความผิดพลาดและยอมรับว่าเป็นบทเรียน
Rule 49 :
คิดว่าของที่ซ์ื้อมาคือของที่ “ไปยืมเขามา”
Rule 50 :
อย่าซื้อมาเพราะเห็นว่าถูก และอย่ารับมาเพราะเห็นว่าฟรี
Rule 51 :
ทิ้งเมื่อ “รู้สีกกลุ้มใจ” ว่าจะทิ้งได้หรือไม่
Rule 52 :
ของที่สำคัญกับเราจริง ๆ จะกลับมาหาเราอย่างแน่นอน
Rule 53 :
ทิ้งด้วยความรู้สึกขอบคุณ และเก็บความรู้สึกขอบคุณนั้นไว้
Rule 54 :
สิ่งที่น่าเสียดายมากที่สุดก็คือ “ความรู้สึกของตัวเอง”
Rule 55 :
เพราะว่าทิ้งไปแล้วก็เลยไม่ลืม

และอีก 15 ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมสำหรับคนที่อยากซื้อข้าวของให้มากขึ้น และใบยาสั่งสำหรับคนเป็น "โรคอยากทิ้ง"
Rule 1 :
ความพอใจไม่ได้ขึ้นอยู่กับ “จำนวน” ของข้าวของ
Rule 2 :
เปลี่ยนเสื้อผ้าลำลองให้เป็นยูนิฟอร์ม
Rule 3 :
มีข้าวของน้อยชิ้นไม่เหมือนใคร
Rule 4 :
ถ้าคิดจะทิ้งตั้ง 5 ครั้งแล้วก็ทิ้งไปเลย
Rule 5 :
ลองทิ้งดูด้วย “การทดสอบ” ว่าสำคัญจริงหรือไม่
Rule 6 :
ความลำบากเล็กๆ น้อยๆ เป็นเรื่องสนุก
Rule 7 :
ข้าวของที่คอยปลุกเร้าความสุขในหัวใจ ก็ทิ้งมันไปด้วย?
Rule 8 :
ลอง “จัดระเบียบชีวิต” แม้ว่าตอนนี้ยังแข็งแรงดีอยู่
Rule 9 :
แม้ข้าวของจะน้อยลง แต่ “ตัวเอง” ก็ไม่ได้หายไป
Rule 10 :
ตั้งคำถามกับวิธีใช้ทั่วไป
Rule 11 :
ทิ้งไปเลย อย่าคิดมาก
Rule 12 :
ไม่ต้องทนทรมานกับการ “เผชิญกับข้าวของที่มีอยู่น้อยชิ้น” และไม่ต้อว่าคนอื่นที่มีของอยู่มากมาย
Rule 13 :
โรคอยากทิ้งและโรคอยากมีคือโรคเดียวกัน
Rule 14 :
มินิลมัลลิสต์คือ “วิธีการ” และ “บทนำ”
Rule 15 :
นิยามความหมายของมินิมัลลิสต์ด้วยตัวเอง
ความมหัศจรรย์ของการมีข้าวของเพียงไมกี่ชิ้น คุณสัมผัสได้ หาอ่านเพิ่มเติมได้
รายละเอียดเพิ่มเติม :
- ชื่อหนังสือ : อะไรไม่จำเป็นก็ทิ้งไป ぼくたちに、もうモノは必要ない。
- ผู้เล่า : Momokung (Kusuma Suksri)
- สำนักพิมพ์ : Step
- ชื่อหนังสือ : อะไรไม่จำเป็นก็ทิ้งไป Way to be minimalist
- ให้บริการในห้องสมุด ที่ TX301 ซ6อ 2560
- เนื้อหาย่อ : มินิมัลลิสม์มาจากไหน -- ทุกคนเป็นมินิมัลลิสต์กันมาตั้งแต่แรก -- 1 วันก่อนที่ผมจะเป็นมินิลลิสต์ -- ทำไมของถึงเยอะขึ้นได้ขนาดนี้ -- ผมมีทุกอย่างที่อยากได้ -- ความเคยชิน "คือยาพิษ" -- 55 ข้อปฏิบัติในการทิ้งข้าวของ!! -- 15 ข้อปฏิบัติเพิ่มเติมสำหรับคนที่อยากทิ้งข้าวของให้มากขึ้น!! -- 12 เรื่องที่เปลี่ยนไปหลังจากทิ้งข้าวของที่ไม่จำเป็น -- มีเวลามากขึ้น -- สนุกกับชีวิต -- ความสุขไม่ใช่สิ่งที่จะต้อง "มี" แต่คือสิ่งที่จะต้อง "รู้สึก" -- ทิ้ง "โมเดลความสุข" แบบเดิม ๆ -- ความสุขมาจากพันธุกรรม 50 เปอร์เซ็นต์

สนใจการเป็น Minimalist อีกประเด็น ชวนอ่าน Death Cleaning สุดท้ายก็ต้องทิ้ง ของ สองป้าชวนอ่าน เป็นแนวคิดที่จัดการภาระของตัวเองก่อนตาย เพื่อลดภาระของคนที่อยู่ข้างหลัง ได้เป็นอย่างดี
Hits: 1849
Facebook Comments
No related posts found