ชวนอ่าน เพราะความรู้เกิดขึ้นง่ายจากการอ่าน
Content for Longlife Learning

ในขณะที่เราอยู่ในโลกแห่งการศึกษาเล่าเรียน ทุกคนต่างก็พากเพียรอย่างเต็มกำลังด้วยความหวังว่าสักวันนึงจะเรียนจบด้วยคุณนวุฒิและก้าวสู่โลกแห่งการทำงาน ไม่ต้องเน็ตเหนื่อยกับการอนุรักษ์ขนาดอีกต่อไป แต่กลับไม่ใช่อย่างที่คิดเพราะว่าในโลกแห่งการทำงานนั้นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คนทำงานต้องเป็นคนที่มีความรู้ผู้ที่มีอนาคตก้าวไกลจึงต้องอาศัยความมุ่งมั่นในการอ่านและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเรียนรู้ตลอดไปในชีวิต



ก่อนที่เราจะได้ศึกษาสูตรลับของเทคนิคการอ่านหนังสือให้เร็วและได้ผล เราควรทำการทดสอบความเร็วในการอ่านเป็นอันดับแรก เพื่อเก็บไว้เป็นสถิติและใช้สำหรับวัฒนาการของการอ่านเร็วและได้ผลของตัวเรา

วิธีการ

1 ใช้นาฬิกาจับเวลาที่มีความเที่ยงตรงพร้อมเสียงปลุกเตือนหยิบเปิดความในหนังสือดีดีที่ต้องการจะอ่านมาหนึ่งเล่ม

2 ตั้งเวลาปลุกไว้ 2 นาที

3 ลงมืออ่านบทความหรือหนังสือที่ต้องการอ่านที่มีการจัดเรียงตัวอักษรด้วยความยาวบรรทัดตามมาตรฐาน

4 นับจำนวนบรรทัดที่อ่านได้แล้วคูณด้วย 20 แล้วจึงหารด้วยสอง

5 ความเร็วในการอ่าน =…….. คำต่อนาที

การอ่านโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ รวมทั้งเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตและการทำงานเราจำเป็นจะต้องมีวิธีการอ่านให้ได้รับสาระและความเข้าใจมากที่สุด เวลาที่แต่ละคนจัดสรรให้กับการอ่านต้องมีการบริหารจัดการให้ดี ไม่งั้นเราจะไม่มีวันอ่านหนังสือเพราะว่าเวลาจะหมดไปกับเรื่องไร้สาระ ถึงแม้ทุกคนจะมีเวลา 24 ชั่วโมงเท่ากันแต่การใช้เวลาและวิธีการทำงานในแต่ละช่วงเวลาของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกันคนที่บริหารเวลาได้ดีกว่าย่อมเป็นผู้ชนะ กระบวนการของการอ่าน ส่วนแรกคือกระบวนการภายนอกที่เกี่ยวข้องกับกายอย่าภาพเป็นสำคัญได้แก่ วิธีการใช้สายตาและการใช้มือประกอบเพื่อให้การอ่านได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ส่วนที่ 2 คือกระบวนการภายในทางสมองและระบบประสาทในร่างกายของคนเพื่อส่งต่อให้สิ่งที่ได้รับรู้เข้าไปบันทึกเก็บไว้ในเซลล์สมองให้ได้มากที่สุด

ถ้าเราทำความเข้าใจในเรื่องของสมาธิตามคำจำกัดความข้างต้นก็จะรู้สึกว่าการสร้างสมาธินั้นเป็นเรื่องที่ยากแล้วก็จะเหมารวมไปเลยว่าการสร้างสมาธิเป็นเรื่องไก่ตัเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับทางศาสนาไปเลยจริงๆแล้วการทำสมาธินั้นเกิดขึ้นได้ง่ายเร็วเร็วไม่ใช่เรื่องยากของเราลงติดตามวิธีการทำสมาธิแนววิทยาศาสตร์แล้วจะรู้ว่าเราเองก็ทำได้

สูตรอ่านเร็ว

สูตรลับที่ 1 ห้ามอ่านออกเสียง ถ้าอยากอ่านเร็วให้มากกว่าเดิม ขั้นแรกก็คือห้ามอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียงที่ว่านี้เป็นการแปลงเสียงออกมาดังดังจนคนข้างๆ ของเราได้ยินด้วยกัน ออกเสียงพึมพำอยู่ในลำคอ และการอ่านเป็นคำคำเสมือนการออกเสียงอยู่ในใจ ทั้งหมดนี้คือข้อห้ามของเคล็ดลับนี้ เหตุผลคืออวัยวะในร่างกายของเราต้องทำงานกันหลายทอด จากสายตาที่อ่านหนังสือเสียประสาทตาและภาพเข้ามาแล้วจะส่งข้อมูลเข้าสู่สมอง จากสมองก็จะสั่งลงมายังกล่องเสียงให้มีการอ่านออกเสียงเป็นคำตามมา เมื่อมีการถ่ายทอดสัญญาณทั้งการสั่งการและการส่งข้อมูลเกิดขึ้นหลายทอด หลายระบบ ความล่าช้าจึงเกิดขึ้นเป็นธรรมดา

สูตรลับที่ 2  การอ่านไปข้างหน้าใช้สายตาประสานมือ บ่อยครั้งที่เราคิดเข้าอยู่อย่างเดียวว่าการอ่านต้องใช้สายตาจนลืมไปว่ามือก็เป็นอวัยวะสำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่านเป็นอย่างดี ในการอ่านหนังสือโดยใช้ในตากับมือให้สัมพันธ์กันขอให้จำหัวใจสำคัญสั้นว่าเป็นการใช้ มือนำตาตาม ซึ่งมีประโยชน์ดังนี้ เมื่อเราใช้ปลายนิ้วมือชี้ลงไปใต้บรรทัดที่กำลังอ่านจะช่วยให้สายตานั้นโฟกัสได้ถูกจุด ช่วยให้การอ่านนั้นเดินไปข้างหน้าไม่ย้อนกลับหลังกลับไปกลับมาเพราะว่าไปนิ้วของมือชี้ไปใต้บริเวณหรือจุดที่กำลังอ่านอยู่ซึ่งจะเป็นการบังคับสายตาไม่ให้ย้อนกลับหรือย้ายไปอ่านตรงบริเวณอื่นและยังช่วยมีสมาธิมากขึ้น

สูตรลับที่ 3  การอ่านเป็นช่วงๆการเป็นช่วงๆจะมีลักษณะการอ่านในทำนองเดียวกันกับการอ่านไปข้างหน้า แต่แตกต่างกันตรงที่การอ่านไปข้างหน้านั้นจะเป็นการอ่านทีละคำแล้วเคลื่อนไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง ส่วนการอ่านเป็นช่วงๆเป็นการอ่านทีละหลายหลายคำและก็เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่องเช่นกัน

สูตรลับที่ 4 การอันกลางบรรทัดในแนวดิ่ง ดวงตาของมนุษย์มีส่วนประกอบมากมายที่สนับสนุนการมองรอบข้างในรูปของประสาทสัมผัสที่ใช้เพื่อสังเกตสิ่งต่างๆที่อยู่รอบรอบตัวที่สามารถนำมาเป็นประโยชน์ต่อการอ่านได้ โดยเซลล์ประสาทประกอบด้วยเซลล์สองแบบ ได้แก่ เซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย ซึ่งรูปกรวยจะกระจุกอยู่ในตรงกลางตาจอรับภาพของดวงตา ถ้าเรามองตรงไปข้างหน้าก็จะทำให้เราเห็นสีสันและรายละเอียดของสิ่งต่างๆได้ชัดเจนเซลล์ รูปแท่งจะอยู่รอบรอบจอรับดวงตาแล้วใช้เมื่อที่ที่มีแสงน้อยหรือเพื่อใช้มองวัตถุเมื่อเราเหลือตาไปด้านข้างเช่น เวลามีรถอีกคันหนึ่งวิ่งมาด้วย ความเร็วจากข้างหลังเข้ามาข้างข้างรถของเราเราสามารถรับรู้ได้จากเซลล์รูปแท่งที่ใช้มองส่วนข้างรูข้าง

เทคนิคสรุปแบบญี่ปุ่น

เราคงไม่ต้องกังวลว่าเราจะจดจำรายละเอียดได้มากหรือน้อยขนาดไหนและไม่มีใครจดจำได้ทุกเรื่องไว้ตลอดไปประเด็นสำคัญคือถ้าเราเชื่อว่าเราอ่านแล้วลืม 80% ส่วนเหลือที่จำได้เพียง 20% ถ้าเป็นเช่นนั้นแล้วเราจะสร้างเครื่องช่วยจำเพื่อจำได้เพิ่มขึ้นมาอีกหลายหลายอย่างกันอย่างไร



อ่านแล้วไม่จำทำอย่างไร? ในห้องสัมนาเคยมีประเด็นพิพาทกันอยู่บ่อยว่าจะอ่านหนังสือแล้วจะไม่ค่อยได้จะทำอย่างไรซึ่งทุกครั้งผู้เขียนก็ได้ต่อไปเหมือนเหมือนกันว่าการจำไม่ค่อยได้ถือว่าเป็นเรื่องปกติและไม่ควรวิตกกังวลแม้แต่ตัวผู้เขียนเองก็ยังจำรายละเอียดทางวิชาการไม่ค่อยจะได้แต่ที่จันได้แน่ก็คือเราต้องการนุชจะรับรู้อะไรซักอย่างแล้วไปหาได้จากหนังสือเล่มไหนซึ่งเท่ากับว่าการจำได้ว่าในหนังสือเล่มไหนของเรานั้นมีสาระสำคัญอะไรอยู่บ้าง

หลายๆ คนอาจจะรู้สึกว่าการมุ่งมั่นและความแน่วแน่ในการอ่านเป็นเรื่องที่ทำได้ยากเย็นแสนเข็ญ แต่ก็มีบางคนที่บอกว่าไม่ได้ยากออกจากง่ายด้วยซ้ำ ตรงนี้ใครจะเห็นในแง่มุมใดก็ขึ้นอยู่กับทัศนคติของแต่ละบุคคลเป็นสำคัญ แต่ถ้าเราต้องการจะปรับอุปนิสัยให้สุดยอด อ่านแล้วก็เราคงไม่ลืมสูตรลับของเราที่ผ่านๆ มา ลองนึกถึงเวลาที่เรานั่งอ่านการ์ตูน นวนิยาย หรือมานั่งดูแฟ้มรูปหลังจากที่ได้ไปเดินทางท่องเที่ยวกับเพื่อนๆ หรือครอบครัวมา เรายังสามารถอ่านได้ดูได้ตั้งแต่ต้นจนจบเขตที่เรามีความมุ่งมั่นแน่วแน่ก็เป็นเพราะเราชอบมันเราจึงสนุกไปกับมัน

ทีนี้ลองเปลี่ยนเป็นหนังสือตำราวิชาการดูบ้างเราจะชอบจะเพิร์ธเพลินจะมุ่งมั่นจะแน่วแน่จะยากหรือจะง่ายก็คงหนีไม่พ้นที่ทุกคนจะแสวงหาหนทางและคำตอบให้แก่ตนเอง

เทคนิคสรุปแบบญี่ปุ่น

Visits: 40

Facebook Comments

facebook comments