
นโยบายสำนักงานสีเขียว
1.1 นโยบายสิ่งแวดล้อม
ดำเนินการทบทวนนโยบายสิ่งแวดล้อมและพลังงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
1.2 คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อม
เมื่อทราบปัญหาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรในสำนักงานแล้ว ต้องมีการรวบรวมกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจัดทำทะเบียนกฎหมาย และนำไปปฏิบัติ และทบทวนกฎหมายให้ทันสมัยอยู่เสมอ
1.3 ระบุและประเมินปัญหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ค้นหาว่าปัญหาสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากร ตั้งแต่ ขนาดเล็ก จนถึง ขนาดใหญ่ ในสำนักงานมีอะไรบ้าง นำปัญหามาประเมิน "หาระดับความสำคัญ"
การใช้ทรัพยากรและพลังงานจะต้องถูกระบุและประเมินลงในตารางระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงาน พร้อมกับระบุถึงความรุนแรงของปัญหาให้ครบถ้วน และสอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นจริง
การใช้ทรัพยากรและพลังงานที่มีนัยสำคัญ หรือความรุนแรงระดับปานกลางขึ้นไป จะต้องได้รับการแก้ไขจัดการจะต้องมีการสื่อสารปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ พนักงานทราบปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการทำงานแต่ละแผนก จะต้องมีการทบทวนตารางระบุและประเมินปัญหาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและพลังงาน


1.4 กฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง
เมื่อทราบปัญหาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรในสำนักงานแล้ว ต้องมีการรวบรวมกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจัดทำทะเบียนกฎหมาย และนำไปปฏิบัติ และทบทวนกฎหมายให้ทันสมัยอยู่เสมอ


1.5 ก๊าซเรือนกระจก
ต้องเก็บข้อมูลจากกิจกรรมในสำนักงาน ได้แก่ การใช้ไฟฟ้า เชื้อเพลิงสำหรับการเดินทาง น้ำประปา กระดาษ และการเกิดของเสีย (ฝังกลบ) และร้อยละของพนักงานที่ต้องเข้าใจและรับรู้ด้วย

1.6 แผนงานโครงการที่นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
มีโครงการที่ขัดเจน และดำเนินการตามที่กำหนด เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

1.7 การตรวจประเมิน
มีการตรวจประเมินตามหมวดและหัวข้อที่กำหนด

1.8 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื้่อติดตามผล ปรับปรุง และพัฒนา
2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ
พนักงานแต่ละคนที่ผ่านการอบรมด้านสำนักงานสีเขียว จะต้องมีประวัติการอบรมที่ระบุรายละเอียด และผู้รัผิดชอบการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีความเหมาะสม
2.2 การรรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน
1. กำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางการสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสำนักงาน รวมถึงกำหนดช่องทางในการสื่อสาร กลุ่มเป้าหมาย 2. มีการรณรงคฺ์สื่อสารและให้ความรู้ตามหัวข้อการอบรมรม 3. มีช่องทางรับข้อเสนอแนะมาปรับปรุง

การใช้ทรัพยากรที่เป็นทรัพยากรน้ำ ไฟฟ้า และพลังงานเชื่้อเพลิง รวมถึงพลังงานสิ้นเปลืองอื่น ๆ เช่น กระดาษ หมึกพิมพ์ และเน้นการประชุมและการจัดนิทรรศการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.1 การใช้น้ำ
1. กำหนดมาตรการการใช้น้ำที่เหมาะสม 2. จัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่วางไว้ 3. ประเมินจากพฤติกรรมการใช้น้ำของบุคลากร

3.2 การใช้พลังงาน
1. กำหนดมาตรการประหยัดไฟฟ้าและสื่อสารให้พนักงานรับทราบ 2. จัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่วางไว้ 3. ประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติตามมาตรการการใช้ไฟฟ่าของบุคลากร 4. การจัดการและการรณรงค์เพื่อการประหยัดน้ำมันในการเดินทาง 5. จัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื่้อเพลิง

3.3 การใช้ทรัพยากรอื่น ๆ
มาตรการการใช้กระดาษที่เหมาะสม โดยสร้างความตระหนัก รวมถึงจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษเปรียบเทียบกับเป้าหมาย รวมถึงการปฏิบัติตามมาตรการของพนักงาน และร้อยละของการใช้

3.4 การจัดประชุมและการจัดนิทรรศการ
ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมประชุม การจัดประชุมใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและลดขยะ
4.1 การจัดการของเสีย
มีการดำเนินงานคัดแยก รวบรวม และการจัดขยะอย่างเหมาะสม โดย 1. มีการคัดแยกขยะและจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆอย่างเหมาะสม 2. มีป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้อง 3. มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ 4. มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ 5. มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภท 6. มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย 7. มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสม 8. ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื ้นที่ของสำนักงานำ
4.2 การจัดการน้ำเสีย
การจัดการน้ำเสียของสำนักงานจะต้อง1. ดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล มีการบำบัดน้ำเสียที่เหมาะสม และครบทุกจุด และมีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด 2. มีการดูและอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียอย่างถูกวิธี 1. มีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจากตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมันตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้น ๒. มีการนำเศษอาหาร น้ำมันและไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง ๓. มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพ ๔. มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน ้าเสียอย่างสม ่าเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื ้อนของน ้าเสียไปยังแหล่ง อื่นๆ

5.1 อากาศในสำนักงาน
5.2 แสงในสำนักงาน
5.3 เสียง
5.4 ความน่าอยู่
5.5 การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน


6.1 การจัดซื้อสินค้า

ดีจังค่ะ
ขอบคุณค่ะ