การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

การทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช วิถีการทำนา การทำนาดำ เป็นการปลูกข้าว เป็นหนึ่งสองวิธีของการทำงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Continue Readingการทำนาดำ : วิถีการทำนาแบบดั้งเดิมของเกษตรกรนครศรีธรรมราช

เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์        เดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ เป็นประเพณีการทำบุญด้วยเหนียวหลาม หรือข้าวหลามของชาวอำเภอท่าศาลา  ในเดือน 3 วันมาฆบูชา ชองทุกปี         เมื่อได้ข้าวหลาม หรือ “เหนียวหลาม” แล้วนอกจากแบ่งปันให้เพื่อนบ้านแล้ว ชาวบ้านจะนำมาเก็บไว้ในโบสถ์หรือ  “ใส่ข้าวโบสถ์”…

Continue Readingเดือนสามหลามเหนียว ใส่ข้าวโบสถ์ : ที่นครศรีธรรมราช

จักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม

จักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม จักสาน หรือเครื่องจักสานมีมานาน มีหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และจนถึงปัจจุบันก็ยังใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน ภูมิปัญญาการใช้วัสดุจากธรรมชาติ มาถัก ทอ สาน เป็นภาชนะ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ลักษณะ รูปร่าง ขึ้นรูป ต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน ของแต่ละท้องถิ่น…

Continue Readingจักสาน : จากภูมิปัญญาสู่วัฒนธรรมร่วม

มังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของนครศรีธรรมราช

มังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของเมืองนครศรีธรรมราช ทำความรู้จักมังคุดคัดกัน มังคุดคัด ผลไม้ที่มีสีขาวจากเนื้อในของผลไม้ที่หาได้ง่ายในเมืองนครฯ คือมังคุด แต่ที่ไม่เหมือใครในประเทศนี้และถือเป็นเอกลักษณ์หนึ่งเดียวของเมืองนครศรีธรรมราช  คือสิ่งที่เรียกว่า "มังคุดคัด"  มาจาก มังคุด+คัด (คำว่า "คัด" ภาษาใต้หมายถึงการปอกเปลือกออก) คำนี้จึงหมายถึง การนำมังคุดแก่ที่มีการปอกเปลือกออกเรียบร้อยแล้ว การคัดเลือกมังคุดเพื่อนำมาคัด  มังคุดที่จะนำมาคัด จะเลือกมังคุดแก่  ผิวสีเขียว  ๆ …

Continue Readingมังคุดคัด : ของดีหนึ่งเดียวของนครศรีธรรมราช

“โบราณสถานตุมปัง” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

โบราณสถานตุมปัง สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โบราณสถานตุมปัง  ตั้งอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งสำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช ได้ขึ้นประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 118 ตอนพิเศษ 33ง เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2544 มีพื้นที่ 80 ไร่ 3…

Continue Reading“โบราณสถานตุมปัง” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

End of content

No more pages to load